Page 50 - ชีววิทยาและเคมีสำหรับครู
P. 50
4-40
3. ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนด้อยอยู่บนโครโมโซมเพศ (Sex-linked recessive gene)
แบบแผนก ารถ ่ายทอดลักษณะท ี่ควบคุมด ้วยย ีนด ้อยอ ยู่บนโครโมโซม X จะเป็นดังนี้
1) คนที่แสดงลักษณะผ ิดป กติ มักเป็นผ ู้ชาย
2) ผู้ชายท ี่ผ ิดป กติ มักม ีพ ่อแม่ป กติ แต่แม่เป็นพาหะ
3) ผู้ห ญิงที่แ สดงลักษณะผ ิดปกติ จะมีพ่อแ สดงล ักษณะผ ิดป กติด ้วย
4) ผู้ชายท ี่มีลักษณะผ ิดป กติ จะไม่ถ ่ายทอดลักษณะผ ิดป กติให้กับลูกเลย
5) ถ้าผ ู้ห ญิงที่ผ ิดป กติม ีล ูก ลูกชายจะแ สดงล ักษณะผ ิดปกติท ุกคน
ตัวอย่างลักษณะพันธุกรรมแบบนี้ ได้แก่ ลักษณะตาบอดสีเขียว-แดง โรคเลือดไหลไม่หยุด
(Hemophilia)
4. ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนเด่นอยู่บนโครโมโซมเพศ (Sex-linked dominant gene)
แบบแผนการถ ่ายทอดยีนเด่นที่อยู่บ นโครโมโซมเพศ หรือโครโมโซม X จะมีรูปแ บบดังนี้
1) ลักษณะผิดปกติจะปรากฏทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย แต่จะพบลักษณะผิดปกติในผู้หญิง
มากกว่าผ ู้ชาย
2) ลักษณะท ี่ผิดป กติท ี่ปรากฏในผ ู้ชาย จะรุนแรงมากกว่าในผู้หญิง
3) ถ้าแ ม่ผ ิดป กติ จะถ่ายทอดลักษณะผิดปกติไปยังล ูกสาวแ ละล ูกชายเท่าเทียมกัน
4) ถ้าพ ่อม ีล ักษณะผ ิดป กติ แต่แ ม่ป กติ ลูกสาวท ุกค นจ ะแ สดงล ักษณะผ ิดป กติ ส่วนล ูกชาย
จะป กติทั้งหมด
5) ลักษณะผิดป กติ จะป รากฏในท ุกช ั่วรุ่น
ตัวอย่างลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนเด่นที่อยู่บนโครโมโซมเพศ ได้แก่ โรคกระดูกอ่อน (Hypo-
phosphatemic rickets) ลักษณะการม ีข นยาวร ุงรังตามใบหน้าแ ละล ำ�ตัวคล้ายส ัตว์ (Hypertrichosis)
5. ลักษณะท ี่ถ ูกควบคุมด ้วยยีนที่อ ยู่บ นโครโมโซม Y (Y-linked gene หรือ Holandric gene)
มีแบบแผนก ารถ่ายทอดด ังนี้
1) ลักษณะจะป รากฏเฉพาะในผ ู้ชายเท่านั้น
2) ถ้าพ ่อแสดงล ักษณะผิดป กติ จะถ่ายทอดล ักษณะผ ิดปกติให้ก ับล ูกชายทุกคน
3) ผู้ชายที่ผิดปกติต้องมีพ ่อผ ิดป กติ
ตัวอย่าง ลักษณะการมีข นท ี่ใบหู (hairy pinnae) การม ีแอนไทเจน H-Y