Page 52 - ชีววิทยาและเคมีสำหรับครู
P. 52

4-42

            1.1		อัลฟา-ทาลัส​ซีเ​มีย (a-thalassemia) เกิด​จาก​ยีนท​ ี่ส​ ร้าง​โปร​ตีน​ อัลฟา-โก​ลบิน เกิด​การ​
ขาดห​ าย​ไป​บาง​ส่วน ทำ�ให้ไ​ม่มีก​ าร​สร้างโ​ปรต​ ีน​ อัลฟา-โก​ลบิน (—/—) หรือ​สร้างไ​ด้น​ ้อยล​ ง (+/—)

            1.2		บีตา-ทาลัส​ซี​เมีย (b-thalassemia) เป็น​ผล​มา​จาก​ยีน​ที่​สร้าง​บีตา-โก​ลบิน เกิด​การ
​แทนที่​เบส หรือ​เกิด​การข​ าด​หายไ​ปข​ องเ​บสบ​ างต​ ำ�แหน่ง หรือ​เกิดก​ ารเ​กินม​ าข​ องเ​บส ทำ�ให้​เกิด​การกล​ าย​ใน​
ยีน​นี้​ได้​มากกว่า 200 แบบ ผล​ของ​การก​ลาย​ทำ�ให้​มี​การ​สร้าง​โปรตีน​สาย​บีตา-โก​ลบิน ลด​ลง หรือ​ไม่​สร้าง​
เลย

       2.	 โรค​กล้าม​เนื้อ​ลีบ​ดู​เชน เป็น​โรค​พันธุกรรม ที่​เกิด​จาก​ยีน​ด้อย​บน​โครโมโซม X ดัง​นั้น​ผู้​ป่วย​
ส่วน​ใหญ่​จะ​เป็น​ผู้ชาย คน​ที่​มี​ยีน​ผิด​ปกติ​นี้ เกิด​มาปก​ติ​สมบูรณ์​และ​เดิน​ได้​ตาม​ปกติ แต่​พอ​อายุ​ได้ 3–4 ปี
เด็ก​จะ​เริ่ม​ล้ม​บ่อย อายุ 6 ปี เด็ก​จะ​ลุก​ขึ้น​ยืน​ลำ�บาก​ต้องหา​ที่​เกาะ อายุ 8-9 ปี อาจ​เดิน​ไม่​ไหว กล้าม​เนื้อ​
ค่อยๆ ฝ่อ​ลีบ​มาก​ขึ้น หลัง​เริ่ม​แอ่น ปลาย​เท้า​ถ่าง​ออก​จาก​กัน อายุ 10 กว่า​ปี​ขึ้น​ไป มัก​เดิน​ไม่​ได้​ต้อง​นอน
และ​จะเ​สีย​ชีวิต​ประมาณ​อายุ 20 กว่า​ปี เนื่องจากก​ าร​ติด​เชื้อ​ใน​ปอด สาเหตุ​ของ​โรคเ​กิดจ​ ากย​ ีน DMD เกิด​
การ​ขาด​หาย​ไป​บาง​ส่วน ทำ�ให้​ไม่​สามารถ​สร้าง​โปรตีน ดิส​โทร​ฟิน (distrophin) ซึ่ง​เป็น​โปรตีน​ที่​เป็น​
องค์​ประกอบ​สำ�คัญ​ของ​กล้าม​เนื้อ เมื่อ​ไม่มี​โปรตีน​นี้​ใน​กล้าม​เนื้อ กล้าม​เนื้อ​ก็​จะ​ค่อยๆ ลีบ​ฝ่อ​ไป ใน​ระ​ยะ​
แรกๆ ร่างกาย​ยัง​สามารถ​ซ่อมแซม​กล้าม​เนื้อ​ได้​จึง​ไม่​ปรากฏ​อาการ แต่​เมื่อ​กล้าม​เนื้อ​ลีบ​มาก​ขึ้น​อาการ​จึง​
ค่อยๆ ปรากฏ เนื่องจาก​ยีน DMD ตั้ง​อยู่​บน​โครโมโซม X ผู้​ป่วย​มี​พ่อ​แม่​ปกติ แต่​แม่​เป็น​พาหะ​ซึ่ง​มี​ยีน​
ผิด​ปกติ​แฝง​อยู่ ลูกชาย​รับ​โครโมโซม X จาก​แม่​เท่านั้น ดัง​นั้น​ใน​กรณี​นี้​ลูกชาย​มี​โอกาส 50% ที่​จะ​เป็น​
โรคก​ ล้ามเ​นื้อล​ ีบ ขณะท​ ีล่​ ูกสาวจ​ ะป​ ลอดภัยท​ ุกค​ น เนื่องจากม​ พี​ ่อป​ กติ ปัจจุบันย​ ังไ​ม่มกี​ ารร​ ักษาใ​หห้​ ายขาดไ​ด้

       3. 	 โรค​ดักแด้  โรค​นี้​สามารถ​เกิด​ได้​ทั้ง​ยีน​เด่น​และ​ยีน​ด้อย​อยู่​บน​ออ​โท​โซม สาเหตุ​เกิด​จาก​ยีน
​เครา​ทิน (keratin gene) เกิด​การก​ลาย ใน​คน​ปกติ​เซลล์​ผิวหนัง​จะ​แบ่ง​ตัว​และ​เคลื่อนที่​ขึ้น​มา​เปลี่ยน​เป็น​
หนัง​กำ�พร้า แล้ว​หนัง​กำ�พร้า​จะ​ถูก​ย่อย​และ​หลุด​ออก​มา​เป็น​ขี้ไ​คล แต่​ใน​เด็ก​ดักแด้​หนัง​กำ�พร้า​จะ​ไม่​ถูก​ย่อย​
และ​หนา​ขึ้น​แข็ง​ขึ้น​แตก​เป็น​ลาย​คล้าย​เกล็ด​ปลา ความ​รุนแรง​ของ​โรค​จะ​แตก​ต่าง​กัน​ไป ที่​มี​อาการ​รุน​แร​ง
มากๆ เมื่อเ​ด็ก​เกิด​มา​ผิวหนังโ​ดนอ​ ากาศ​จะแ​ ห้ง​รัดตัว ทำ�ให้​ดึง​ส่วนท​ ี่เ​ป็น​ช่อง​เปิด​ของร​ ่างกาย ทำ�ให้ต​ าป​ ลิ้น
ปากป​ ลิ้น ดูด​นม​ดูดน​ ํ้า​ไม่ไ​ด้ ไม่ส​ ามารถ​ควบคุมอ​ ุณหภูมิ​ของ​ร่างกาย เกิด​การ​สูญ​เสีย​นํ้า เด็กจ​ ะ​ไม่ส​ บายเ​ป็น​
ไข้ ทำ�ให้เ​สีย​ชีวิต โรค​นี้​ไม่​สามารถ​รักษา​ได้ การด​ ูแลต​ ้อง​ทำ�ให้​ผิวหนังช​ ุ่ม​ชื้นเ​สมอโ​ดยก​ าร​ทาค​ รีม ให้ว​ ิตามิน​
เอ ผู้​ป่วย​ต้อง​ได้​รับ​การ​ดูแล​จาก​แพทย์ และ​ครอบครัว​ตลอด​ชีวิต ดัง​นั้น​บุคคล​ที่​มี​บุตร​เป็น​โรค​นี้ ไม่​ควร​มี​
บุตรค​ น​ต่อไ​ป​เนื่องจาก​มีโ​อกาสส​ ูง​ที่​บุตรจ​ ะ​เป็นโ​รคน​ ี้​อีก

แนว​การต​ อบก​ จิ กรรม 4.2.4
       1.	 ลักษณะก​ าร​ขาดเ​อนไซม์ G6PD เกิดจ​ ากย​ ีน​ที่​อยู่​บนโ​ครโมโซม X เกิด​การก​ลายแ​ บบด​ ้อย ใน​

กรณน​ี ลี​้ กู ชายไ​ดร​้ บั โ​ครโมโซม X ทมี​่ ย​ี นี ด​ อ้ ยม​ าจ​ ากแ​ ม่ แตแ​่ มป​่ กติ ดงั น​ ัน้ แ​ มม​่ ย​ี นี ต​ �ำ แหนง่ น​ เี​้ ปน็ เ​ฮเ​ทอโ​รไ​ซก​ สั
ส่วน​พ่อ​มี​ยีน​ปกติ ถ้า​ลูก​คน​ถัด​ไป​เป็น​ผู้​หญิง ลูก​จะ​ไม่​เป็น​โรค​อย่าง​แน่นอน แต่​ถ้า​ลูก​คน​ถัด​ไป​เป็น​ผู้ชาย​
ก็จ​ ะ​มีโ​อกาส 50% ที่จ​ ะเ​ป็น​โรค​นี้
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57