Page 16 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 16
2-6
ตอนท ่ี 2.1
การพัฒนาค วามร สู้ กึ เชงิ จ �ำ นวน
โปรดอ ่านแ ผนการส อนประจ�ำ ต อนที่ 2.1 แลว้ จ ึงศกึ ษาส าระส งั เขป พรอ้ มปฏิบตั ิกจิ กรรมในแ ตล่ ะเร่อื ง
หวั เรือ่ ง
เรื่องท ี่ 2.1.1 ความร ู้สึกเชิงจำ�นวนค ืออะไร
เรื่องที่ 2.1.2 การจัดก ิจกรรมเพื่อพัฒนาค วามรู้สึกเชิงจำ�นวน
เรื่องท ี่ 2.1.3 ตัวบ่งช ี้ในการประเมินผ ลด ้านค วามรู้สึกเชิงจ ำ�นวน
แนวคิด
1. ความร ู้สึกเชิงจำ�นวน เป็นส ามัญสำ�นึก ความเข้าใจ และความสามารถเกี่ยวกับจ ำ�นวนใน
ดา้ นต า่ งๆ 7 ดา้ น ไดแ้ ก่ จ�ำ นวนเชงิ ก ารน บั แ ละจ �ำ นวนเชงิ อ นั ดบั ท ี่ ความส มั พนั ธห์ ลากห ลาย
ร ะหว่างจำ�นวน ขนาดสัมพัทธ์ของจำ�นวน ผลท ี่เกิดขึ้นเกี่ยวกับก ารดำ�เนินก ารข องจ ำ�นวน
ความส ามารถในก ารใชป้ ระสบการณม์ าเป็นเกณฑใ์นก ารอ ้างอิงค วามเป็นไปไดข้ องก ารว ัด
การค ิดคำ�นวณในใจได้อ ย่างยืดหยุ่น และก ารประมาณค ่า
2. ครูสามารถพัฒนาความรู้สึกเชิงจำ�นวนของนักเรียนผ่านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ที่เหมาะสมได้ โดยให้นักเรียนม ีโอกาสเล่าว ิธีการค ิด ชี้แจงเหตุผล คิดคำ�นวณในใจ และ
ประมาณค ่าต่างๆ จากสถานการณ์ที่เชื่อมโยงก ับชีวิตจริงอยู่เป็นป ระจำ�
3. การประเมินความสามารถด้านความรู้สึกเชิงจำ�นวนกระทำ�ได้ในหลายรูปแบบ โดย
บูรณาก ารเข้าไปกับก ารจ ัดกิจกรรมก ารเรียนการสอน
วตั ถปุ ระสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 2.1 จบแ ล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายค วามหมายของความร ู้สึกเชิงจำ�นวนได้
2. ยกตัวอย่างก ิจกรรมเพื่อพ ัฒนาความรู้สึกเชิงจำ�นวนได้
3. อธิบายต ัวบ่งชี้ในก ารประเมินผ ลด ้านค วามร ู้สึกเชิงจ ำ�นวนได้