Page 40 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 40
9-30 ศิลปะกับสังคมไทย
หรือการได้ยินเสียงบรรเลงกาหลอ ก้องไปตามสายลมก็บอกให้รู้ว่ามีงานศพ ชาวบ้านก็จะไปช่วยท�ำบุญ
งานศพกนั ทว่ี ดั นนั้ ๆ โดยจะสบื ถามวา่ เปน็ ใคร กจ็ ะไปเคารพศพ โดยไมต่ อ้ งพมิ พบ์ ตั รเชญิ เหมอื นปจั จบุ นั นี้
4. ใช้บรรเลงเพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เช่น การบรรเลงกรือโต๊ะ หรือบานอโดย
ชาวบ้าน จะช่วยกันสรา้ งดนตรชี นดิ น้ีขน้ึ มาประจ�ำหมูบ่ า้ นของตน และจะใชต้ แี ข่งขนั กับหมู่บา้ นอน่ื ๆ เพอ่ื
เปน็ การสนกุ สนาน และแสดงพลงั ความสามคั คี เพราะขณะทจ่ี ะมกี ารประกวดจะต้องชว่ ยกันทำ� ถา้ แพ้ก็
ถอื วา่ เปน็ การปราชยั ของคนทง้ั หมบู่ า้ น ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ เรอื่ งธรรมดาของการแขง่ ขนั ในโอกาสตอ่ ไปกจ็ ะตอ้ ง
ชว่ ยกนั ทำ� ใหม่ ให้ดกี ว่าเก่า
เคร่ืองดนตรีมีไม่มากนัก แต่ก็ใช้ดนตรีประกอบในพิธีกรรมและแสดงเพื่อความร่ืนเริง รวมทั้งใช้
บรรเลงในโอกาส เครือ่ งดนตรกี ส็ ามารถแบง่ ออกได้ ประเภทตา่ งๆ ตามวิธกี ารบรรเลงได้แก่ สี ตี เปา่ ใน
ขณะท่ีเครื่องดดี ไม่มี จะมีกเ็ ป็นเคร่อื งดนตรีของภาคอน่ื ทเี่ ข้าไปในระยะหลงั ซึ่งมเี คร่อื งดนตรตี า่ งๆ ดงั น้ี
เครือ่ งสี เครอ่ื งดนตรีประเภทน้ขี องภาคใต้ทส่ี �ำคัญ ได้แก่
- ซอดว้ ง ชาวภาคใตบ้ างกลมุ่ เรยี ก ซออี้ ใชบ้ รรเลงประกอบการแสดงโนราและหนงั ตะลงุ
ลกั ษณะเหมอื นซอด้วงของภาคกลาง แตก่ ะโหลกซอจะใหญก่ ว่าของภาคกลาง มี 2 สายเช่นเดยี วกัน
- ซออู้ ใช้ประกอบการแสดง โนราและหนังตะลุง ลกั ษณะเหมอื นซออู้ภาคกลาง มี 2 สาย
เวลาบรรเลงจะเป็นตวั ช่วยทำ� ให้เสยี งอน่ื ทแ่ี หลมลดลง เป็นการประสานเสยี งทดี่ ี
- ซอฆอื ปะ เหมอื นซอสามสายของภาคกลางใชบ้ รรเลงประกอบการเลน่ มะโยง่ มะตอื รแี ละ
โนราแขก
เครื่องตี เคร่ืองดนตรปี ระเภทนข้ี องภาคใต้ท่สี �ำคัญ ได้แก่
- ฆ้องคู่ เปน็ เครื่องตขี องภาคใตท้ ่ีประกอบด้วยลกู ฆอ้ ง 2 ใบบรรจไุ วใ้ นกลอ่ งไม้เปิดฝาให้
ตไี ด้ โดยจะเอาลกู ฆอ้ งผกู ไวใ้ นกลอ่ งเพอื่ สะดวกในการเคลอื่ นยา้ ยใชป้ ระกอบการแสดงมโนหร์ า หนงั ตะลงุ
- ฉง่ิ เปน็ เครอ่ื งตที ที่ ำ� จากโลหะผสม ตดี งั กงั วาน ใชต้ ปี ระกอบจงั หวะผสมกบั ฆอ้ งคใู่ นการ
แสดงมโนห์รา หนงั ตะลงุ
- กรับไม้ ท�ำด้วยไมเ้ นอื้ แข็ง ขนาดกลางจบั ไดพ้ อดี ใช้ตปี ระกอบจงั หวะผสมกบั ฆ้องคู่และ
ฉ่งิ ในการแสดงมโนห์รา หนังตะลงุ
- โทนชาตรี ชาวภาคใต้นยิ มเรียกสนั้ ๆ วา่ “โทน” หรอื “ทน” โดยออกเสียงสน้ั คล้ายกบั
ส�ำเนยี งภาษาถ่ิน โทนชาตรีจะมี 2 ใบคกู่ นั ลำ� ตวั โทนทำ� จากไม้ เช่น ไม้ขนุน ไม้กระท้อน ไมส้ กั ขึงดว้ ย
หนังหน้าเดียวโยงสายเร่งดึงให้หน้ากลองตึงด้วยหนังเรียด เส้นผ่านศูนย์กลางกลองกว้างประมาณ 17
เซนติเมตร ใช้ในวงดนตรภี าคใต้ เช่น หนงั ตะลุง มโนห์รา และกาหลอ
- กลองชาตรี มีลักษณะคล้ายกลองทัด แต่ใบเล็กกว่ามาก เส้นผ่านศูนย์กลางหน้ากลอง
กว้างประมาณ 20 เซนติเมตร เป็นกลองที่ขึงด้วยหนัง 2 ด้านใช้ตีคู่กับโทนชาตรี ใช้ในการแสดงของ
ภาคใตแ้ ละใช้ในการบรรเลงเพลงภาษา
- ร�ำมะนาใหญ่ เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีขึงด้วยหนังด้านเดียวคล้ายกับร�ำมะนาล�ำตัด เส้นผ่าน
ศนู ย์กลางหนา้ กลองกวา้ งประมาณ 30 เซนติเมตร ใชต้ ีประกอบการแสดงลิเกฮูลขู องภาคใต้