Page 39 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 39
ดนตรกี บั สงั คมไทย 9-29
กิจกรรม 9.3.3
ดนตรีทีเ่ ปน็ ศลิ ปะพืน้ บ้านในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีก่ลี ักษณะอะไรบา้ ง
แนวตอบกจิ กรรม 9.3.3
ดนตรีทเ่ี ป็นศิลปะพ้ืนบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี 2 ลักษณะ คือ
1. ดนตรีกลุ่มอีสานเหนือ เป็นวัฒนธรรมดนตรีที่อยู่บริเวณที่ราบสูงท่ีเรียกว่า แอ่งสกลนคร ได้แก่
บรเิ วณจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ ขอนแก่น ชยั ภูมิ นครพนม หนองคาย อดุ รธานี มหาสารคาม รอ้ ยเอด็ เลย มุกดาหาร
ยโสธร และอบุ ลราชธานี
2. ดนตรีกลุ่มอีสานใต้ เป็นท่ีราบดอนใต้เรียกว่า แอ่งโคราช ได้แก่ บริเวณจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์
และศรสี ะเกษ
เรื่องท่ี 9.3.4
ดนตรีพื้นบ้านภาคใต้
ภาคใต้เป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ และจากประวัติศาสตร์ท่ีผ่านมาที่บริเวณ
ภาคใต้มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนภายนอก ท�ำให้ประชาชนภาคใต้นอกจากมีหลากหลายเชื้อชาติแล้ว
ยังมีการรับวัฒนธรรมจากชนกลุ่มอ่ืนเข้ามาผสมผสานอย่างหลากหลาย รวมท้ังวัฒนธรรมด้านดนตรีด้วย
ดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ได้รับใช้สังคมของชาวใต้ พอสรุปได้ดังน้ี (http://kanchanapisek.or.th/kp8/thai/
link2_2south.htm)
1. บรรเลงเพ่ือความร่นื เริง คลายความเหนด็ เหนือ่ ย จากการท�ำงาน ซึ่งจะบรรเลงควบคกู่ นั ไป กบั
การละเลน่ และการแสดงเสมอ เพราะดนตรพี นื้ บา้ นภาคใตน้ น้ั จะไมน่ ยิ มบรรเลงลว้ นๆ เพอื่ ฟงั โดยตรง แต่
จะนยิ มบรรเลงประกอบการแสดง
2. บรรเลงประกอบพิธีกรรม เพ่ือบวงสรวง หรือติดต่อกับส่ิงลี้ลับ เพราะในอดีตสังคมส่วนใหญ่
ตดิ อยกู่ บั ความเชอื่ เรอื่ งผี วญิ ญาณ เชน่ มะตอื รี ของชาวไทยมสุ สลมิ โตะ๊ ครมึ ของชาวไทยพทุ ธ ทใี่ ชเ้ พอ่ื
บรรเลงในงานศพ โดยมีความเช่ือว่าเป็นการน�ำวิญญาณสู่สุคติ การบรรเลงกาหลอ ในงานศพบทเพลง
สว่ นหนงึ่ เปน็ การบรรเลงเพอ่ื ออ้ นวอนเทพเจา้ ดนตรชี นดิ นจ้ี งึ มงุ่ ใหเ้ หน็ ความศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ มอี านภุ าพใหเ้ กดิ
ความขลงั ยำ� เกรง
3. ใชบ้ รรเลงเพ่ือการสอ่ื สาร บอกขา่ ว เช่น การประโคมปดื และประโคมโพน เปน็ สญั ญาณบอก
ขา่ ววา่ ทว่ี ดั มกี ารทำ� เรอื พระ (ในเทศกาลชกั พระ) จะไดเ้ ตรยี มขา้ วของไวท้ ำ� บญุ และไปชว่ ยตกแตง่ เรอื พระ