Page 49 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 49

ความเป็นผู้น�ำทางวิชาการในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 15-39

            การประชุมเหล่านี้มักมีค่าลงทะเบียนที่ค่อนข้างสูง ดังนั้น ก่อนลงทะเบียน ควรตรวจสอบราย
ช่ืองานวิจัยที่จะน�ำเสนอในงานประชุมด้วยว่าตรงกับความต้องการของตนเองมากน้อยเพียงใด

       4.2		การเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) การประชุมเชิงปฏิบัติการมีจุดประสงค์ในการ
พัฒนาทักษะในแง่ของการน�ำไปใช้ ไม่ใช่ความรู้ทางทฤษฎี ซึ่งวิทยากรอบรมมักเป็นผู้เช่ียวชาญ ท�ำให้ผู้สอน
ภาษาอังกฤษได้ความคิด กลยุทธ์ เทคนิค และส่ือที่สามารถน�ำไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง รวมท้ังได้
แลกเปลยี่ นความรูแ้ ละประสบการณ์กับผู้เช่ียวชาญในบรรยากาศที่ไมเ่ ป็นวิชาการมากเกนิ ไป ข้อดีอกี ประการ
หน่ึงของการประชุมเชิงปฏิบัติการคือ การประชุมส่วนใหญ่ใช้เวลาไม่นานนัก ท�ำให้ไม่เป็นอุปสรรคต่อการ
เรียนการสอนเนื่องจากไม่ต้องลางานสอนไปนานนัก (Richards & Farrell, 2005: 25)

       ท้ังน้ี หน่วยงานท่ีจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการเรียนการสอน ได้แก่ หน่วยงานในกระทรวง
ศึกษาธิการ เช่น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา สถาบันภาษาอังกฤษ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐบาลและเอกชน
สถาบันภาษา และส�ำนักพิมพ์ ซึ่งมีทั้งต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมประชุม และไม่มีค่าใช้จ่าย

       ตัวอย่างการประชุมเชิงปฏิบัติการ ได้แก่						
            - 	 การประชุมเชิงปฏิบัติการเร่ือง “การสร้างแบบทดสอบภาษาอังกฤษ” จัดโดยคณะ

ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี							
            - 	 การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “กลวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือ

การส่ือสารและการประยุกต์ใช้ในการเรียน” จัดโดยส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุรินทร์
       4.3 	การเข้าร่วมสัมมนา การสัมมนาต่างจากการอบรมตรงที่ ผู้ที่เข้าร่วมสัมมนามักเป็นผู้ท่ีมี

ความรู้ในเร่ืองที่สัมมนาดีในระดับหน่ึงและมาประชุมร่วมกันเพื่อแลกเปล่ียนข้อคิดเห็น ประสบการณ์ เพ่ือหา
ข้อสรุปหรือวิธีการแก้ไขปัญหาโดยมีวิทยากรที่มีความเช่ียวชาญในหัวข้อนั้นเป็นผู้ด�ำเนินการสัมมนาให้ลุล่วง
และการสมั มนาไมไ่ ดม้ จี ดุ ประสงคเ์ พอื่ เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของผเู้ ขา้ รว่ มสมั มนา เหมอื นการอบรม (สมคดิ
บางโม, 2539)

       ทั้งน้ี การสัมมนามีทั้งแบบเข้าร่วมโครงการสัมมนาท้ังในประเทศและต่างประเทศและสัมมนา
ออนไลน์ (webinars)

            1) โครงการสัมมนาวิชาการ เช่นเดียวกับการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ หน่วยงานท่ีจัดสัมมนา
ใหแ้ ก่ผสู้ อนภาษาอังกฤษมักจะเปน็ หนว่ ยงานในกระทรวงศึกษาธิการ เช่น สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา สถาบนั ภาษา
อังกฤษ โดยประสานงานกับศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (ERIC) หรือ PEER Center ซึ่งทาง
หน่วยงานที่จัดมักจะประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการจัดสัมมนาโดยส่งจดหมายเชิญไปทางโรงเรียน
โดยตรงหรือผ่านเว็บไซต์ของส�ำนักงานพื้นท่ีการศึกษาที่เก่ียวข้อง ท้ังนี้เพ่ือเป็นการพัฒนาความรู้และทักษะ
ของผู้สอนภาษาอังกฤษด้านใดด้านหน่ึง ตามนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยไม่มี
ค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมสัมมนา
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54