Page 53 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 53

ความเป็นผู้น�ำทางวิชาการในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 15-43

       อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นงานวิจัยชนิดใดก็ตาม ข้ันตอนในการท�ำวิจัยก็เหมือนกันได้แก่ หาหัวข้อ
วิจัยโดยการวิเคราะห์ปัญหา ตั้งค�ำถามวิจัย หาแนวทางที่จะแก้ปัญหา ออกแบบระเบียบวิธีวิจัย ด�ำเนินการ
วิจัย เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล (ซึ่งผู้อ่านได้ศึกษารายละเอียดในการท�ำวิจัยการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษมาแล้วในหน่วยท่ี 14 ของชุดวิชาเดียวกันน้ี)

       ท้ังนี้ ถ้าท�ำวิจัยในชั้นเรียนหรือวิจัยที่ไม่เป็นทางการจะไม่มีค่าใช้จ่ายมากนัก แต่ก็พัฒนาเป็นนักวิจัย
มืออาชีพได้ยาก เพราะการวิจัยในชั้นเรียนมีความยืดหยุ่นมากและอาจไม่ต้องเคร่งครัดกับระเบียบวิธีวิจัย
แบบสากลมากนัก อย่างไรก็ตาม ถ้าท�ำวิจัยบ่อยข้ึนก็จะเกิดทักษะการวิจัยมากข้ึน และอาจสมัครขอรับทุน
ท�ำวิจัยได้จากหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาและการวิจัย เช่น

       - 	 ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (สกว.) ซึ่งต้องดูกรอบวิจัยและกลุ่มเร่ืองที่ให้ทุน รวมท้ัง
เงื่อนไขอ่ืน ๆ เช่นคุณสมบัติของผู้รับทุนวิจัย โดยสามารถเข้าไปตรวจสอบข้อมูลได้ที่ www.nrct.go.th

       - 	 TVS (Thai Visiting Scholar Program) เปน็ ทนุ ของมลู นธิ กิ ารศกึ ษาไทย-อเมรกิ นั (fulbright)
สำ� หรบั อาจารย์ นกั วจิ ยั และนกั วชิ าการทไ่ี ดท้ ำ� การสอนหรอื ทำ� วจิ ยั ตง้ั แต่ 10 ปขี นึ้ ไปและมวี ฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั
ปริญญาเอก เพ่ือไปบรรยาย ท�ำงานวิจัย หรือโครงงานวิชาการในสหรัฐอเมริกาเป็นระยะเวลา 3-6 เดือน

       นอกจากน้ี ผู้ท่ีต้องการพัฒนาตนเองเป็นผู้น�ำทางวิชาการในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสามารถ
เรียนรู้เพ่ิมเติมเร่ืองวิธีการท�ำวิจัยได้จากการเข้าร่วมอบรมท่ีจัดโดยศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย (Research
Learning Center) ซ่ึงให้บริการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการท�ำวิจัย โดยศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัยจะจัด
อบรมโครงการ Research Zone ให้แก่ผ้สู นใจในหัวขอ้ เกี่ยวกับการวิจยั โดยไม่คิดค่าใช้จา่ ย เช่น การก�ำหนด
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละคำ� ถามของการวจิ ยั การเขยี นกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั หลกั การออกแบบการวจิ ยั เชงิ ทดลอง
วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง เป็นต้น ท้ังน้ี ผู้สนใจสามารถเข้าไปท่ี www.rlc.nrct.org.th เพื่อสมัครสมาชิกเข้า
ร่วมกิจกรรม และลงทะเบียนออนไลน์ได้ หรือสามารถดาวน์โหลดเอกสารประกอบการอบรมในหัวข้อต่าง ๆ
ได้ด้วย

6. 	การเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ

       เม่ือท�ำวิจัยแล้ว ผู้น�ำทางวิชาการในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษต้องสร้างประโยชน์ให้แก่วงการ
การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษดว้ ยการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ของตนโดยการนำ� เสนอในงานประชมุ วชิ าการหรอื
ตีพิมพ์บทความในวารสารวิชาการ

       6.1 	น�ำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการ นอกจากเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ งานวิจัย และ
นวัตกรรมให้ผู้ที่เก่ียวข้องกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้รับทราบและสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้และ
ต่อยอดแล้ว ผู้ท่ีน�ำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการยังได้ท�ำความเข้าใจในสิ่งท่ีตนศึกษาหรือน�ำเสนอ
อย่างลึกซ้ึงและถ่องแท้มากขึ้นเพราะได้รับทราบความคิด ความเห็น และข้อเสนอแนะของผู้เข้าร่วมรับฟัง
การน�ำเสนอ ท�ำให้เกิดแนวความคิด หรือมุมมองใหม่ ๆ ในการพัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัยหรือนวัตกรรมท่ี
น�ำเสนอ ซ่ึงวิธีการน�ำเสนอมี 2 วิธี ได้แก่ น�ำเสนอแบบบรรยาย (Oral presentation) และน�ำเสนอแบบ
โปสเตอร์ (Poster presentation) ในการน�ำเสนอแบบบรรยายน้ัน ผู้น�ำเสนอจะใช้เวลาสั้น ๆ ประมาณ
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58