Page 52 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 52
15-42 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
งานวิจัยที่ผู้สอนภาษาอังกฤษสามารถท�ำเพื่อเพ่ิมพูนความรู้และพัฒนาตนให้เป็นผู้น�ำทางวิชาการใน
การเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้นั้น อาจเป็นงานวิจัยท่ัวไปหรืองานวิจัยในชั้นเรียน (classroom research)
ซึ่ง พิสณุ ฟองศรี (2550:11-17) ได้สรุปความแตกต่างระหว่างการวิจัยท่ีเป็นทางการกับการวิจัยในช้ันเรียน
ไว้ โดยประเด็นส�ำคัญบางประเด็นได้แสดงไว้ในตารางที่ 15.4
ตารางท่ี 15.4 ความแตกตา่ งระหวา่ งการวิจยั ทเ่ี ปน็ ทางการกบั การวจิ ยั ในช้นั เรียน
ประเดน็ การวิจยั ที่เป็นทางการ การวิจยั ในชน้ั เรียน
ผู้ท�ำ นักวิจัย
ความส�ำคัญของปัญหาวิจัย น้อย ครู
ขอบเขตงานวิจัย กว้าง มาก เพราะจุดประสงค์เพื่อแก้ปัญหา
หรือพัฒนาการเรียนการสอน
การน�ำผลไปใช้ น้อย
ข้อดี แคบ เพราะเน้นการเรียนการสอน
ข้อเสีย สรุปผลไปยังประชากรได้ เท่าน้ัน
ความยืดหยุ่นของงาน ใช้เวลาและทรัพยากรมากแต่น�ำไป มาก เพราะเป็นประโยชน์โดยตรง
ใช้ประโยชน์จริงได้น้อย
ใช้แก้ไขปัญหาในการวิจัยได้
ต่ํา
สรุปผลไปยังประชากรไม่ได้หรือได้
ระเบียบวิธีวิจัย ครบตามหลักสากล น้อย
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ เน้นสถิติขั้นสูง สูง เพราะอาจเป็นการท�ำวิจัยหน้าเดียว
หรือเต็มรูปแบบ
อาจครบหรือลดข้ันตอนเพื่อให้อยู่ใน
วิสัยท่ีท�ำได้
ไม่เน้นมาก เพราะอาจมีข้อจ�ำกัดด้าน
จ�ำนวนข้อมูล
จากข้อมูลในตารางที่ 15.4 สรุปได้ว่า การวิจัยในชั้นเรียนท�ำโดยครูเพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอน
ในชั้นเรียนที่สามารถท�ำไปพร้อมกับการสอนได้ กลุ่มประชากรคือผู้เรียน ผลของการวิจัยจะน�ำไปใช้เพ่ือช่วย
แก้ปัญหาในช้ันเรียนเป็นหลัก จึงสรุปผลไปยังประชากร (generalizability) ไม่ได้หรือได้น้อย และระดับ
ความเป็นทางการของการวิจัยชั้นเรียนก็มีความยืดหยุ่นมาก เพราะอาจเป็นแค่งานวิจัยหน้าเดียวท่ีมีความ
สมบูรณ์ในตัวจนถึงงานวิจัยเต็มรูปแบบที่มี 5-6 บทและไม่จ�ำเป็นต้องใช้ระเบียบวิธีการวิจัยท่ีเคร่งครัดหรือ
ใช้สถิติช้ันสูงในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สอนจะเลือกท�ำวิจัยประเภทใดก็ข้ึนอยู่กับจุดประสงค์และปัจจัยอื่น ๆ
เช่น เวลา การน�ำไปใช้และความรู้ทางด้านการท�ำวิจัยของผู้สอน เป็นต้น