Page 15 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 15
แนวคิดเกย่ี วกบั ระบบสังคมและสงั คมโลก 1-5
เรื่องท่ี 1.1.1
แนวคิดเกี่ยวกับสังคม
1. ความหมาย
เมอื่ กลา่ วถงึ คำ� วา่ สงั คม มคี วามหมายอยหู่ ลายความหมาย บางครง้ั อาจหมายถงึ กลมุ่ คนทร่ี วมตวั
กนั บางครง้ั อาจหมายถึงการคบหาสมาคมกับบุคคลอืน่ ๆ เชน่ นาย ก. ไมค่ อ่ ยชอบเข้าสังคม และสงั คม
ยังอาจหมายถงึ ความเปน็ ชุมชน ความเป็นรฐั ความเป็นประเทศ เชน่ สังคมไทย สังคมชนบท สงั คมเมอื ง
เป็นต้น
พจนานุกรมสังคมวิทยา (จ�ำนงค์ อดิวัฒนสิทธ์ิ และคณะ, 2540) ให้ความหมายค�ำว่า สังคม
(society) คอื กลมุ่ คนและความสมั พนั ธท์ างสงั คมทกุ รปู แบบของบคุ คลและกลมุ่ ยอ่ ยภายในกลมุ่ สงั คมใหญ่
และสามารถดำ� รงอยู่ สืบเน่อื งสภาวะสังคมไดด้ ้วยกลุม่ ของตน มที เี่ ป็นเขตถนิ่ ฐานของตนและมสี มาชิกใน
สงั คมท่ปี ระกอบ ด้วยคนทกุ เพศ วัย รวมท้งั มีแบบแผนและวิถกี ารด�ำเนินชวี ิตหรือวัฒนธรรมของตนเอง
ดังนั้น สังคมจึงเป็นการรวมตัวกันของคนกลุ่มหนึ่งในอาณาบริเวณท่ีมีขอบเขตก�ำหนด มีความ
สัมพันธ์ระหว่างสมาชิกอันเกิดจากการประพฤติปฏิบัติต่อกัน มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และ
ยอมรบั แบบแผน กฎเกณฑ์ กตกิ าอยา่ งเดยี วกัน (พัทยา สายห,ู 2526)
สว่ นคำ� ว่า ระบบสังคม (social system) หมายถงึ ระบบของความสมั พันธข์ องคนจำ� นวนหน่งึ
ตง้ั แตส่ องคนขน้ึ ไป ในระบบสงั คมหนง่ึ ๆ อาจประกอบดว้ ยคนเพยี งไมก่ คี่ น เชน่ เพอ่ื นรว่ มงาน เพอ่ื นรว่ ม
ช้ันเรียน คนในหมู่บ้าน เป็นต้น ซ่ึงเป็นระบบสังคมย่อย และหากมีจ�ำนวนสมาชิกในสังคมมากขึ้นก็เป็น
ระบบสงั คมทใ่ี หญข่ น้ึ ระบบสงั คมมลี กั ษณะทสี่ ามารถดำ� รงอยไู่ ดย้ นื นานกวา่ ชวั่ อายขุ องบคุ คล มกี ารสรา้ ง
สมาชิกใหม่โดยการสืบพันธุ์และอบรมเลี้ยงดูผู้ที่อยู่ก่อน ไม่ว่าระบบสังคมจะมีขนาดใหญ่หรือย่อยต่างกัน
แต่ทุกระบบสังคมจะมีลักษณะพ้ืนฐานคล้ายกันคือมีโครงสร้างและมีการจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่าง
คนในสังคม (สุรชิ ยั หวนั แกว้ , 2548)
2. ความส�ำคัญของสังคม
ความจำ� เปน็ ทตี่ อ้ งมสี งั คมมนษุ ยเ์ กดิ ขนึ้ ทง้ั นี้ เพราะการรวมกลมุ่ กนั เปน็ สงั คมของมนษุ ยก์ อ่ ใหเ้ กดิ
การจดั ระเบยี บ การแบง่ ปนั ทรพั ยากร การดำ� เนนิ ชวี ติ ตามบทบาทหนา้ ทแี่ ละสถานภาพของตน สงิ่ เหลา่ นี้
ท�ำใหเ้ กดิ การอยู่ร่วมกนั มีความหมายและมคี วามส�ำคัญดังน้ี
2.1 การอยู่เป็นสังคมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัย การอยู่รวมกันเป็นสังคมของมนุษย์
ท�ำให้มีการแบ่งบทบาทหนา้ ท่ีตามสถานภาพ การรวมตัวกันเป็นกลุม่ ก้อนของมนุษย์จนเกิดเป็นสังคมขน้ึ
ท�ำใหม้ นุษย์มีความมนั่ คงและปลอดภยั ทง้ั ทางกายและทางจติ ใจ เน่อื งจากสมาชกิ ใหมห่ รือผู้ทอี่ ่อนแอกว่า
ได้รับการปกป้องคุ้มครองจากสมาชิกท่ีเข้มแข็งหรือแข็งแรงกว่า (หากทุกคนปฏิบัติตามบทบาทและ
สถานภาพทถี่ กู ก�ำหนดขึ้น)