Page 20 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 20
1-10 ความรทู้ างสังคมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีส�ำ หรับนักนเิ ทศศาสตร์
ไม่ว่าบคุ คลนั้นจะตั้งใจหรือไมก่ ็ตาม เช่น เครอ่ื งแต่งกาย เครอื่ งประดับ สภาพห้องทำ� งาน คำ� น�ำหนา้ ชือ่
เป็นตน้ สถานภาพยงั มีการจัดระดบั และเก่ยี วขอ้ งกับความมงั่ คัง่ และอำ� นาจ ท�ำให้สถานภาพบางอย่างสูง
กว่าอีกสถานภาพหน่ึง เชน่ ผ้จู ัดการมสี ถานภาพสูงกว่าเลขานกุ าร ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนมีสถานภาพสูง
กว่าอาจารยท์ วั่ ไป เป็นต้น (ศริ ริ ัตน์ แอดสกลุ , 2555)
2. บทบาท
บทบาท (role) คอื สิทธิและหนา้ ท่ีที่เก่ียวพันกับสถานภาพ ซึ่งบคุ คลท่ีมสี ถานภาพต่างกนั ต่าง
ก็มีบทบาทหน้าที่ที่สมาชิกคนอื่นๆ ในสังคมคาดหวังต่างกัน บทบาทจึงเป็นพฤติกรรมท่ีคาดหวังส�ำหรับ
ผทู้ อี่ ยใู่ นสถานภาพนน้ั วา่ จะปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไร เพอ่ื ทจ่ี ะไดม้ กี ารกระท�ำระหวา่ งกนั ได้ และสามารถคาดเดา
พฤติกรรมที่จะเกดิ ขึ้นต่อไปไดเ้ ชน่ กนั
บทบาทของคนแตล่ ะคนในสงั คมจะเชอ่ื มโยงกนั เปน็ เครอื ขา่ ย กลา่ วคอื บทบาทของคนคนหนง่ึ จะ
สมั พนั ธก์ บั คนอื่นๆ ในสังคมทมี่ สี ถานภาพสัมพันธก์ นั และการกระท�ำของคนทใี่ นสถาภาพตา่ งกันกจ็ ะถกู
ก�ำกับโดยบทบาทหน้าท่ีตามสถานภาพนั้นๆ พฤติกรรมและการกระท�ำเหล่านั้นก็จะสัมพันธ์กับคนอ่ืนๆ
และถูกคาดหวังจากคนอื่นๆ ด้วย (สุริชัย หวันแก้ว, 2548) เช่น ครู อาจารย์ ก็คาดหวังให้นักเรียน
นักศกึ ษาเข้าเรยี น ท�ำการบา้ นมาส่ง และเข้าสอบตามกำ� หนด นักเรยี น นักศึกษากค็ าดหวงั ให้ครู อาจารย์
เข้าสอน ตรวจการบ้าน และตรวจข้อสอบ เปน็ ตน้
บทบาทและสถานภาพของคนในสังคมจะก�ำหนดกฎเกณฑ์ให้สมาชิกในสังคมรับรู้และเรียนรู้ว่า
ทกุ คนตา่ งมหี นา้ ทข่ี องตนตามบทบาทและสถานภาพของตน รวมทง้ั จะถกู คาดหวงั จากสมาชกิ คนอนื่ ๆ ใน
การปฏบิ ัติตามบทบาทและสถานภาพที่มตี ่อกนั ต่างกนั ไป เช่น สังคมโดยท่ัวไปคาดหวังบทบาทของผ้ทู ีม่ ี
สถานภาพเป็นพ่อเป็นแม่ท่ีจะต้องดูแลเล้ียงดูบุตรธิดา เมื่อใดก็ตามท่ีพ่อแม่ทอดทิ้งลูกก็จะถูกสังคม
ต้ังค�ำถามหรอื ถึงขัน้ ประณามการไม่ปฏบิ ัติหน้าทต่ี ามบทบาทของพ่อแม่ เป็นต้น
อยา่ งไรก็ตามในวถิ ชี ีวิตของคนในสงั คมต่างมบี ทบาทหลายบทบาททตี่ ้องกระท�ำเชน่ เดยี วกบั การ
มีหลากหลายสถานภาพ และในบางสถานภาพก็มีบทบาทหน้าท่ีหลายด้าน เช่น สถานภาพอาจารย์
มหาวิทยาลยั กจ็ ะมีบทบาทเปน็ ทงั้ ผสู้ อน นกั วิจยั อาจารย์ที่ปรกึ ษา เป็นตน้ ส่งิ เหลา่ นส้ี ง่ ผลใหบ้ ุคคลคน
หนึ่งอาจไม่สามารถกระท�ำหน้าท่ีตามบทบาทท่ีถูกคาดหวังได้ดีทุกบทบาท บางคร้ังจึงอาจเกิดความ
ตึงเครียดได้ คนบางคนจึงใช้วิธีเลือกท�ำหน้าท่ีตามบทบาทใดบทบาทหนึ่งให้ดีท่ีสุดก่อน และปล่อยผ่าน
ไม่ท�ำหน้าท่ีในบทบาทอ่ืนๆ หรืออาจต้องละทิ้งบทบาทใดบทบาทหนึ่งไปในบางขณะเพ่ือท�ำหน้าที่ในอีก
บทบาทหนึ่งใหล้ ุลว่ งไปจนเสรจ็ สิน้ (ศิริรัตน์ แอดสกลุ , 2555)
3. สถาบันทางสังคม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายค�ำว่า สถาบัน หมายถึง ส่ิงซ่ึง
คนในสว่ นรวม คอื สงั คม จดั ตงั้ ใหม้ ขี น้ึ เพราะเหน็ ประโยชนว์ า่ มคี วามตอ้ งการและจาํ เปน็ แกว่ ถิ ชี วี ติ ของตน
เชน่ สถาบนั ครอบครวั สถาบนั ศาสนา สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั การเมอื ง สถาบนั