Page 25 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 25

แนวคิดเกยี่ วกบั ระบบสงั คมและสงั คมโลก 1-15
เป็นต้น หากไม่ปฏิบัติตามวิถีประชาก็ไม่มีบทลงโทษที่รุนแรง เพียงแต่ผู้ไม่ปฏิบัติตามอาจถูกมองว่าผิด
ปกติ ประหลาด แต่ไม่ผดิ ศีลธรรมหรือไม่ใช่อาชญากรรม การปฏิบัติตามวิถปี ระชาจึงเปน็ ไปโดยสมัครใจ
และวถิ ปี ระชาเปน็ สง่ิ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไดเ้ พอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพสงั คมทป่ี รบั เปลยี่ นไป เชน่ การใสก่ างเกง
ไปท�ำงานของผ้หู ญงิ ซ่ึงในอดีตดจู ะเปน็ เร่ืองทีย่ อมรบั ได้ยาก แต่ปจั จบุ นั เป็นเรอื่ งปกติธรรมดา เปน็ ต้น

            จะสังเกตได้ว่าวิถีประชาเกิดข้ึนโดยไม่มีการวางแผนล่วงหน้า และเป็นการกระท�ำจนเป็น
นิสัยหรือเกิดความเคยชิน ไม่สามารถบอกไดว้ ่ามที มี่ าที่ไปอย่างไร ใครคิดคน้ ขึ้น แตเ่ ปน็ สิง่ ท่คี นในสังคม
(ประชาหรอื ชาวบา้ น) ใหก้ ารยอมรบั และคาดหวงั ใหส้ มาชกิ คนอน่ื ในสงั คมปฏบิ ตั ติ าม ซงึ่ อาจเปน็ ไดส้ งิ่ ท่ี
ควรปฏิบัติและสิ่งท่ีไม่ควรปฏิบัติ การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม “วิถี” อาจได้รับผลเพียงการถูกมองว่า
ประหลาด ถูกต�ำหนิ ซบุ ซบิ นนิ ทา หัวเราะเยาะหรอื พดู จาถากถาง (ศริ ริ ัตน์ ศริ ริ ัตน์ แอดสกลุ , 2555)

            2.1.2 จารีต (mores) บ้างกเ็ รียกวา่ กฎของศลี ธรรม แม้จะไมม่ กี ารกำ� หนดเปน็ ลายลกั ษณ์
อกั ษรเพราะเปน็ บรรทดั ฐานอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ แตจ่ ารตี กเ็ ปน็ สง่ิ ทคี่ นในสงั คมตอ้ งกระทำ� และคนอน่ื ๆ ใน
สังคมก็คาดหวงั การปฏบิ ัตติ ามจารตี สงู กวา่ วถิ ีประชา ส่วนหน่ึงเพราะจารีตจะมเี รือ่ งศลี ธรรมจรรยาเขา้ มา
เกี่ยวข้อง เป็นกฎของสังคมที่จะก�ำหนดไว้ว่าการกระท�ำใดถูกหรือผิด ส่ิงใดที่ต้องกระท�ำหรือห้ามกระท�ำ 
โดยเฉพาะหลกั ความเชอ่ื ทางศลี ธรรมทค่ี นทว่ั ไปยดึ ถอื หากฝา่ ฝนื อาจไดร้ บั บทลงโทษจากสงั คมอยา่ งรนุ แรง
เชน่ ประณาม ถูกรมุ ประชาทณั ฑ์ หรอื ถงึ ข้ึนไม่คบคา้ สมาคมดว้ ย นัน่ คอื ไล่ออกจากความเปน็ สมาชิกใน
สงั คมนนั่ เอง ตวั อยา่ งการกระทำ� ผดิ จารตี คอื การทพ่ี อ่ ขม่ ขนื ลกู ลกู ตบตพี อ่ แม่ หรอื พระสงฆม์ คี วามสมั พนั ธ์
ทางเพศกับสกี า เปน็ ต้น

            แม้จารีตจะคล้ายคลึงกับวิถีประชาตรงท่ีไม่รู้ที่มาที่ไป เกิดข้ึนแบบไม่ได้มีการวางแผน
ลว่ งหนา้ และเปน็ ท่ีรบั รู้กนั โดยทวั่ ไป และมคี วามแตกต่างกันระหวา่ งสังคมหนง่ึ กับอกี สงั คมหน่งึ แต่จารตี
ก็มีความแตกต่างจากวิถีประชาตรงที่เปล่ียนแปลงยากกว่าวิถีประชาและเป็นเรื่องเก่ียวกับสวัสดิภาพของ
คนในสังคมมากกว่า มีบทลงโทษท่รี ุนแรงกวา่ ในบางสังคมอาจใชจ้ ารตี ทดแทนกฎหมายได้ และเป็นทมี่ า
ของกฎหมายซึ่งเปน็ บรรทัดฐานทางสังคมท่ีเปน็ ทางการ

       2.2 	บรรทัดฐานแบบเป็นทางการ บรรทัดฐานทางสังคมแบบเป็นทางการ (formal norms)
จะเปน็ กฎระเบยี บปฏบิ ตั ซิ ง่ึ กำ� หนดไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร มกี ระบวนการในการกำ� หนดบรรทดั ฐานเหลา่ นี้
และส่วนใหญ่ก�ำหนดโดยผู้ปกครองท่ีต้องการให้สังคมมีความสงบเรียบร้อย และควบคุมหรือลงโทษผู้ท่ี
ฝา่ ฝนื อยา่ งรนุ แรงมากกวา่ การตำ� หนติ เิ ตยี น ประณาม หรอื ขบั ไลจ่ ากสงั คม บรรทดั ฐานทางสงั คมแบบเปน็
ทางการทเี่ ป็นทรี่ ้จู กั กนั ดคี ือกฎหมายนั่นเอง

            2.2.1 	กฎหมาย (laws) แมท้ ุกสงั คมจะมวี ถิ ีชาวบ้าน จารตี หรือกฎแห่งศลี ธรรมแล้วก็ตาม
แต่ก็ต้องมีกฎหมายเพราะความซับซ้อนของสังคมท่ีเพ่ิมมากขึ้น อีกทั้งขนาดของสังคมที่ใหญ่ขึ้นท�ำให้
บรรทดั ฐานอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการเชน่ วถิ ปี ระชาและจารตี ไมส่ ามารถควบคมุ พฤตกิ รรมของคนสงั คมไดอ้ ยา่ ง
ท่ัวถึง กฎหมายจึงเป็นข้อบัญญัติหรือกฎกติกาที่ทุกสังคมมักก�ำหนดขึ้นโดยมีบทลงโทษท่ีรุนแรงชัดเจน
หากฝา่ ฝืนหรือกระทำ� ผิด เช่น เสียคา่ ปรับ จบั กุมคมุ ขงั หรือประหารชีวิต เป็นต้น ท้ังนท้ี กุ คนตอ้ งปฏิบัติ
ตามกฎหมายเพราะเปน็ บรรทดั ฐานทางสงั คมทมี่ คี วามสำ� คญั สงู สดุ และจำ� เปน็ มากสำ� หรบั สงั คมขนาดใหญ่
และซบั ซอ้ น
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30