Page 30 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 30

1-20 ความร้ทู างสงั คมศาสตร์และเทคโนโลยีส�ำ หรบั นกั นเิ ทศศาสตร์
       4.2 	สถานภาพและบทบาท เป็นต�ำแหน่งส�ำคัญในสถาบันการเมืองการปกครอง เช่น นายก

รฐั มนตรี ประธานาธบิ ดี รฐั มนตรี ปลดั กระทรวง สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา นายกเทศมนตรี
เปน็ ตน้ ตำ� แหนง่ ทบ่ี ง่ บอกสถานภาพเหลา่ นจ้ี ะมบี ทบาทกำ� กบั ใหต้ อ้ งปฏบิ ตั งิ านใหเ้ หมาะสมกบั สถานภาพ
เหล่าน้ัน เช่น นายกรัฐมนตรีหรือประธานาธิบดีก็ต้องแสดงบทบาทการเป็นผู้น�ำคณะรัฐบาลเพ่ือบริหาร
ประเทศให้สงบเรยี บรอ้ ยและเจรญิ กา้ วหน้า เป็นตน้

       4.3 	การท�ำหน้าท่ี สถาบันการเมืองการปกครองมีหน้าท่ีส�ำคัญหลายประการ อาทิ รักษาความ
มนั่ คงชองชาตทิ ง้ั ในทางการเมอื งและทางเศรษฐกจิ บำ� บดั ทกุ ขบ์ ำ� รงุ สขุ ของประชาชน รกั ษาสทิ ธปิ ระโยชน์
ของสาธารณชนโดยช่วยให้ประชาชนมีรายได้ ให้กินดีอยู่ดี และจัดสวัสดิการแก่ผู้ที่เดือดร้อน สร้าง
สมั พนั ธไมตรกี บั นานาประเทศ สรา้ งหลกั ประกนั แกช่ วี ติ และพฒั นาอาชพี ตลอดจนจดั วางระบบการลงโทษ
แก่ผูท้ ี่ฝ่าฝนื บทบัญญัติหรือบรรทัดฐานของสังคม

       4.4 	บรรทัดฐาน แตล่ ะสงั คมตา่ ง มรี ะเบยี บแบบแผนการเมอื งและการปกครองเฉพาะตวั วธิ กี าร
สรา้ งความม่ันคง ปลอดภัย จัดระเบยี บ และสรา้ งความผาสกุ โดยสถาบันการเมืองการปกครองของแต่ละ
สังคมก็แตกต่างกัน บางสังคมจัดให้มีระบบการเลือกผู้ปกครองโดยตรงจากการลงคะแนนเลือกของ
ประชาชน บางสังคมอาจจัดให้เป็นระบบการเลือกผู้น�ำผ่านตัวแทน บรรทัดฐานเหล่าน้ีบางสังคมอาจเป็น
ลักษณะจารีตท่ีไม่ได้ก�ำหนดชัดเจนแต่รับรู้ร่วมกัน หรือบางสังคมจะเป็นในรูปบทบัญญัติของกฎหมายที่
เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร เช่น รัฐธรรมนญู พระราชบญั ญัติ พระราชก�ำหนด กฎกระทรวง มติคณะรัฐมนตรี
เปน็ ตน้

5. 	 สถาบันเศรษฐกิจ

       สถาบันเศรษฐกิจเกี่ยวข้องกับกิจกรรมพื้นฐานของมนุษย์เพื่อความอยู่รอด เป็นการจัดการกับ
ทรพั ยากรทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมหลกั คอื การผลติ การจำ� หนา่ ย และ
การบริโภค เป็นสถาบันที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ด้านการด�ำรงชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวิต
ทำ� หนา้ ทแี่ สดงหาวตั ถดุ บิ เพอ่ื ผลติ สนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค รวมทง้ั ประสานงานระหวา่ งผผู้ ลติ และ
ผู้บริโภคโดยใช้เงินตราหรือส่ิงแลกเปล่ียนอ่ืนๆ โดยมีเป้าหมายเพ่ือความอุดมสมบูรณ์และการกินดีอยู่ดี
ของคนในสังคม

       องคป์ ระกอบของสถาบันเศรษฐกจิ ได้แก่
       5.1 	สมาชิกหรือองค์การทางสังคม อนั ประกอบดว้ ย ผผู้ ลติ ซงึ่ ทำ� หนา้ ทแ่ี สวงหาวตั ถดุ บิ และผลติ
สินคา้ และ/หรอื บริการให้แก่ผบู้ รโิ ภคหรอื ลกู คา้ และเมือ่ มีผู้ผลิตย่อมตอ้ งมีผ้บู ริโภค ซง่ึ ก็คือผู้ใชส้ ินค้าและ
บรกิ ารในรปู แบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการดำ� รงชวี ติ หรือเพอื่ ความสะดวกสบาย
       5.2 	สถานภาพหรือบทบาท ทกุ คนทเี่ กี่ยวขอ้ งกับสถาบนั เศรษฐกิจต่างมีสถานภาพและบทบาท
ท่ีจะต้องท�ำงานที่ได้รับตามบทบาทเพ่ือก่อให้เกิดการผลิตและการจ�ำหน่ายสินค้าและบริการให้ถึงมือ
ผบู้ รโิ ภค สถานภาพและบทบาทของสมาชกิ ในสถาบนั เศรษฐกจิ อาทิ ผปู้ ระกอบการ เจา้ ของกจิ การ พอ่ คา้
คนกลาง นายจ้าง ลกู จา้ ง ผ้จู ัดการ พนักงานขาย ตัวแทนจ�ำหน่าย เป็นตน้
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35