Page 28 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 28

1-18 ความรู้ทางสังคมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี �ำ หรับนักนิเทศศาสตร์

เป็นสาเหตุส่วนหน่ึงที่ท�ำให้เด็กไม่เคารพเช่ือฟัง ขาดจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อหน้าท่ีในการศึกษาเล่าเรียน
และสง่ ผลต่อปัญหาสงั คมอ่นื ๆ ท่ีตามมา เช่น ปญั หาเด็กจรจัด การตง้ั ครรภ์ในวยั เรยี น การท�ำแท้ง การ
ขม่ ขืนกระทำ� ช�ำเราเดก็ เปน็ ต้น

2.	 สถาบันศาสนา

       สถาบนั นเี้ กดิ ขน้ึ จากความตอ้ งการความมน่ั คงทางดา้ นจติ ใจของมนษุ ย์ เปน็ แบบแผนของความคดิ
และการกระทำ� ทเ่ี กยี่ วกบั จติ ใจ ความเชือ่ ทางสงั คม หรอื ลทั ธิความเชอ่ื ของมนษุ ยใ์ นสังคมหน่งึ ๆ ที่ยึดถือ
ปฏบิ ตั ไิ ปในแนวทางเดยี วกนั เพอื่ เสรมิ สรา้ งกำ� ลงั ใจและความมง่ั คงปลอดภยั ทางจติ ใจแกส่ มาชกิ ไวส้ ำ� หรบั
ตอ่ สกู้ บั ปญั หาตา่ งๆ ทม่ี นษุ ยต์ อ้ งเผชญิ ทกุ สงั คมจะมศี าสนาทแี่ ตล่ ะแหง่ ใชย้ ดึ เหนย่ี วจติ ใจและเปน็ แนวทาง
การด�ำเนินชีวิต บางสังคมอาจนับถือพระเจ้าองค์เดียว บางสังคมนับถือพระเจ้าหลายองค์ บางสังคมก็
ไมน่ บั ถือพระเจา้ แต่ทุกศาสนาตา่ งกม็ คี �ำสอนและพิธกี รรมปฏิบตั ติ ามศาสนกจิ แตกตา่ งกันไป

       องค์ประกอบของสถาบนั ศาสนา ได้แก่
       2.1 	สมาชิกหรือองค์การทางสังคม ซึ่งประกอบดว้ ย ศาสดาหรือผู้ก่อตัง้ หรอื ให้กำ� เนิดหลกั ธรรม
ค�ำสอน ศานธรรมหรือคำ� สอน ศาสนิกชนหรอื ผู้ทปี่ ฏิบัตติ ามหลกั คำ� สอนของศาสนา ศาสนสถาน เช่น วดั
โบสถ์ วิหาร สุเหร่า มัสยิด เป็นต้น ผู้สืบทอดหรือผู้รับค�ำสอนนั้นมาถ่ายทอดและปฏิบัติ เช่น พระสงฆ์
บาทหลวง เป็นต้น รวมทั้งสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายที่เป็นสิ่งแทน หรือปูชนียวัตถุ เช่น พระพุทธรูป
ไมก้ างเขน เปน็ ต้น
       2.2 	สถานภาพและบทบาท ในสถาบนั ศาสนาจะมสี ถานภาพและบทบาทของผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ ง หลากหลาย
อาทิ นกั บวชในศาสนา เชน่ พระสงฆ์ บาทหลวง ตา่ งมบี ทบาทในการถา่ ยทอดค�ำสอนของศาสดาและเปน็
ที่ยึดเหนย่ี วทางใจของศาสนกิ ชนหรือผทู้ น่ี ับถือศาสนานัน้ ๆ
       2.3 	การท�ำหน้าที่ การเป็นสถาบันที่ตอบสนองความต้องการความมั่นคงทางจิตใจท�ำให้สถาบัน
ศาสนามีหน้าท่ีส่งเสริมและยกระดับจิตใจของมนุษย์ผ่านการอบรมส่ังสอนและให้ความรู้ในการประพฤติ
ปฏิบัติกายและจิต เม่ือเผชิญปัญหาก็จะแก้ไขอย่างมีสติ นอกจากน้ียังมีหน้าท่ีสร้างความเป็นปึกแผ่น
อันหน่ึงอันเดียวกันในสังคม เน่ืองจากมีปรัชญาการด�ำเนินชีวิตตามสถาบันศาสนาคล้ายๆ กัน สถาบัน
ศาสนายังช่วยควบคุมมาตรฐานการประพฤติปฏิบัติตนของคนในสังคม มีอิทธิพลต่อการจัดระบบความ
สมั พนั ธร์ ะหว่างสมาชกิ
       2.4 	บรรทัดฐาน ทุกศาสนาจะมีหลักธรรมค�ำสอนและข้อควรประพฤติปฏิบัติเป็นบรรทัดฐานซึ่ง
แตกต่างกันไปในรายละเอียด เช่น ในศาสนาพุทธ ผู้ที่บวชเป็นพระต้องถือศีล 227 ข้อ พระธรรมวินัย
กำ� หนดใหพ้ ระสงฆ์ยงั ชพี ด้วยการบณิ ฑบาต พุทธศาสนิกชนที่ดีตอ้ งมีศีล 5 เป็นต้น

3. 	 สถาบันการศึกษา

       สถาบนั การศกึ ษาเปน็ แหลง่ บม่ เพาะใหค้ วามรแู้ ละอบรมสงั่ สอนสมาชกิ ในสงั คมควบคไู่ ปกบั สถาบนั
ครอบครัว ไมเ่ พียงใหค้ วามรแู้ ต่สถาบนั การศึกษายงั ต้องอบรมส่ังสอนสมาชิกในสงั คมให้เกิดความคดิ และ
ปัญญาในการนำ� ความร้นู ้นั ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนแ์ กต่ นเองและสังคมของตนด้วย บคุ คลท่ีมกี ารศกึ ษาย่อม
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33