Page 17 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 17
การวเิ คราะห์และประเมนิ ปัจจัยในการบรหิ ารงานภาพยนตร์ 2-5
เร่ืองท่ี 2.1.1
การวิเคราะห์และประเมินปัจจัยเก่ียวกับองค์ประกอบ
ของการผลิตภาพยนตร์
การสร้างหรือการผลิตภาพยนตร์แต่ละเร่ืองน้ัน ส่ิงท่ีเป็นปัจจัยส�ำคัญในการก�ำหนดองค์ประกอบ
ของการผลิตภาพยนตร์ ประกอบดว้ ย ผูอ้ �ำนวยการสรา้ งภาพยนตรห์ รอื แหลง่ เงนิ ทนุ ดาราหรือผแู้ สดงน�ำ
บทภาพยนตร-์ บทประพนั ธ์ ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ การโฆษณา และการประชาสมั พนั ธ์ ซง่ึ สง่ิ
เหลา่ นเ้ี มอื่ รวมกนั เขา้ แลว้ จะทำ� ใหผ้ จู้ ดั จำ� หนา่ ยหรอื สายหนงั และคนดภู าพยนตรเ์ กดิ ความรสู้ กึ ตอ่ ภาพยนตร์
เร่ืองน้ันๆ ว่าเป็น “หนังฟอร์มใหญ่” หรือไม่ ดังน้ัน การผลิตภาพยนตร์จึงต้องน�ำปัจจัยดังกล่าวมาเป็น
แนวทางในการวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ
1. ผู้อ�ำนวยการสร้างภาพยนตร์หรือแหล่งเงินทุน ในการบริหารการผลิตภาพยนตร์แต่ละเร่ือง
จำ� เปน็ ตอ้ งมี “เงนิ ทนุ ” จำ� นวนมาก เพราะเงนิ ทนุ ถอื เปน็ ทรพั ยากรพนื้ ฐานทต่ี อ้ งใชใ้ นการดำ� เนนิ งาน โดย
เฉพาะการสร้างภาพยนตร์ไทย อันมผี ู้อำ� นวยการสร้างภาพยนตร์เป็นผู้จัดหาเงนิ ทุน ซึ่ง ส. อาสนจินดา
นกั แสดงและผกู้ ำ� กบั ภาพยนตรอ์ าวโุ สไดใ้ หน้ ยิ ามคำ� วา่ “ผอู้ ำ� นวยการสรา้ ง” วา่ หมายถงึ “นายทนุ ผลู้ งเงนิ
สร้างหนงั * การลงทนุ สร้างภาพยนตรไ์ ทยแม้จะมรี ายได้ไมแ่ น่นอน แต่กย็ งั มผี ูส้ รา้ งภาพยนตร์ไทยจ�ำนวน
ไม่น้อยท่ีไม่ยอมละท้ิงอาชีพการสร้างภาพยนตร์ โดยมีผู้ให้เหตุผลว่า “ผู้สร้างอาชีพส่วนมากเป็นศิลปิน
หรอื เปน็ ผทู้ มี่ คี วามรใู้ นดา้ นการถา่ ยทำ� ภาพยนตร์ ซงึ่ ประกอบอาชพี นด้ี ว้ ยความรกั จรงิ ๆ ไมส่ ามารถจะหนั
ไปประกอบอาชีพอื่นได้ มีอุปกรณ์การถ่ายท�ำอยู่แล้ว หากหันไปประกอบอาชีพอื่นก็มักจะเสียดาย
(กับพวกท่ี) ต้องการหาช่ือเสียงหรือสร้างความนิยมในวงการภาพยนตร์ ต้องการเสี่ยงโชคเช่นเดียวกับ
นักพนัน เพราะคดิ วา่ บางครงั้ อาจจะโชคดี บา้ งไดร้ ับการชักจูงจากบุคคลอ่นื ผ้สู รา้ งเหล่านี้บางคนก็โชคดี
บางคนก็ต้องขายบ้านขายที่ดินจนหมดตัว (หรือ) สร้างภาพยนตร์เพื่อหวังผลทางอ้อม หรือผลพลอยได้
ต่างๆ เช่น ต้องการสร้างความสนทิ สนมกับดาราภาพยนตร์ ฯลฯ”
แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม จำ� นวนผลู้ งทนุ สรา้ งภาพยนตรไ์ ทยไดล้ ดนอ้ ยลงกวา่ อดตี และไดจ้ ดั ตงั้ เปน็ บรษิ ทั
หรือรวมกลุ่มเพ่ือสร้างภาพยนตร์ท่คี ่อนข้างเขม้ แขง็ และด�ำเนนิ ธรุ กิจอยา่ งเป็นลำ�่ เป็นสนั ได้แก่ กลุ่มแรก
เปน็ ผสู้ รา้ งภาพยนตรเ์ ปน็ อาชพี ทส่ี งั กดั บรษิ ทั จดั สรา้ งภาพยนตรข์ นาดใหญ่ เชน่ บรษิ ทั ไฟวส์ ตารโ์ ปรดกั ชนั่
จำ� กดั บรษิ ทั สหมงคลฟลิ ม์ อนิ เตอรเ์ นชนั่ แนล จำ� กดั บรษิ ทั ไทเอน็ เตอรเ์ ทน็ เมนท์ จำ� กดั บรษิ ทั จี ที เอช
ไท หับ จ�ำกดั บรษิ ทั กนั ตนา กรุป๊ จำ� กัด บริษทั พระนครฟิล์ม จ�ำกัด บริษัทอาร์ เอส โปรโมช่นั จ�ำกดั
(มหาชน) เป็นต้น กลุ่มท่ีสองเป็นผู้สร้างภาพยนตร์เป็นอาชีพที่ไม่สังกัดบริษัทขนาดใหญ่ หากแต่ต้ังใน
* ผู้อ�ำนวยการสร้างภาพยนตร์ตามหลักสากลแล้วหมายถึง ผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถในการบริหารการสร้างภาพยนตร์
โดยเป็นผู้พิจารณาตัดสินใจในการสร้าง การจัดหาทรัพยากรการผลิตภาพยนตร์ ตลอดจนการก�ำหนดแนวทางการจัดจ�ำหน่ายและ
ฉายในโรงภาพยนตร์ แต่ผอู้ ำ� นวยการสร้างภาพยนตร์ไทยบางคนยงั มขี อ้ จำ� กดั จึงอยู่ในฐานะเพียงเปน็ ผู้ลงทนุ เท่าน้ัน