Page 18 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 18

2-6 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
รูปบริษัทหรือกจิ การขนาดเล็กท่สี ร้างภาพยนตร์ปีละ 1-2 เร่ือง เช่น บริษทั อคั รเศรณโี ปรดกั ชนั่ โคลีเซีย่ ม
โปรดกั ชนั่ เอเอน็ โปรดกั ชน่ั พดี โี ปรโมชนั่ พรพจนฟ์ ลิ ม์ เชดิ ไชยภาพยนตร์ เปน็ ตน้ กลุ่มท่ีสามเปน็ ผสู้ รา้ ง
ภาพยนตรไ์ ม่เป็นอาชีพ แต่เข้าสูว่ งการภาพยนตรเ์ ปน็ ครงั้ คราว เพอ่ื หวังผลตอบแทนในลักษณะอ่นื เชน่
เขา้ มาเพ่อื สร้างชื่อเสียงใหแ้ ก่ตนเอง หรือหวังความใกลช้ ิดกับดารา เปน็ ตน้

       ชอ่ื เสยี งของผอู้ ำ� นวยการสรา้ งภาพยนตรห์ รอื แหลง่ เงนิ ทนุ ของภาพยนตรท์ จี่ ะสรา้ งหรอื ถา่ ยทำ� นน้ั
มีความส�ำคัญต่อการประกันความส�ำเร็จของภาพยนตร์ เพราะจะท�ำให้ผู้เกี่ยวข้องกับการผลิตภาพยนตร์
และผู้จัดจ�ำหน่ายหรือสายหนัง รวมทั้งโรงภาพยนตร์มีความม่ันใจว่าภาพยนตร์เรื่องท่ีสร้างข้ึนนั้นจะไม่มี
ปัญหาว่าสร้างไม่เสร็จเพราะขาดเงินทุนในการสร้าง ขณะเดียวกันความส�ำคัญของผู้อ�ำนวยการสร้าง
ภาพยนตร์ นอกจากจะถอื วา่ เปน็ ผจู้ ดั หาเงนิ ทนุ เพอ่ื การสรา้ งภาพยนตรแ์ ลว้ ยงั อาจเปรยี บเสมอื นสญั ลกั ษณ์
แหง่ ความนา่ เชอ่ื ถอื (credibility) ทผี่ เู้ กย่ี วขอ้ งตา่ งๆ จะใหค้ วามไวว้ างใจตอ่ ภาพยนตรเ์ รอ่ื งนน้ั ๆ ในระดบั ใด
อาจรวมถึงความรู้สึกของผู้จัดจ�ำหน่ายหรือสายหนังและคนดูท่ีมีต่อฟอร์มของหนังอีกด้วย ทั้งนี้เน่ืองจาก
จ�ำนวนเงนิ ทนุ ที่นำ� มาใช้ในการสรา้ งภาพยนตร์ย่อมสมั พนั ธ์กบั ฟอร์มหนงั อยูไ่ มน่ ้อย

       2. 	บทภาพยนตร-์ บทประพันธ์ บทภาพยนตรเ์ ปน็ ขอ้ เขยี นทเ่ี รยี บเรยี งขนึ้ เพอื่ นำ� ไปใชใ้ นการผลติ
ภาพยนตร์ บทภาพยนตรต์ ่างจากงานประพนั ธอ์ นื่ ๆ เชน่ นวนยิ าย ในแง่ท่ีมันมิใชง่ านประพนั ธ์ท่สี ำ� เรจ็ ใน
ตัวเองหากเป็นเสมือนแบบร่างหรือพิมพ์เขียวของงานสร้างภาพยนตร์มากกว่า บทภาพยนตร์จึงเป็นตัว
กำ� หนดแนวทางในการดำ� เนนิ งานผลติ ภาพยนตร์ บทภาพยนตรท์ ด่ี มี ไิ ดจ้ ำ� กดั อยทู่ กี่ ารมแี นวความคดิ หรอื
ไอเดีย (idea) ที่น่าสนใจและมวี ธิ กี ารเล่าเร่อื งหรอื การดำ� เนินเรอ่ื งราวทนี่ า่ ตดิ ตาม ต่นื เตน้ สนกุ สนาน และ
ค�ำสนทนาที่คมคายกินใจเท่าน้ัน หากแต่บทภาพยนตร์ยังมีความส�ำคัญในด้านการเตรียมงานเพ่ือท่ีจะให้
ภาพยนตร์เรื่องน้นั ๆ ดำ� เนินไปได้อยา่ ง (คอ่ นข้าง) ราบรน่ื และไดผ้ ลงานทน่ี า่ สนใจและประทบั ใจสำ� หรับ
ผชู้ มใหม้ ากทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะทำ� ได้ ทง้ั นเี้ พอื่ ชว่ ยใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านทกุ ฝา่ ยเตรยี มงานไดพ้ รอ้ ม ประมาณคา่ ใชจ้ า่ ย
ได้ และสามารถกระจายความรบั ผดิ ชอบไปยงั ผรู้ ว่ มงานไดท้ ว่ั ถงึ อกี ทง้ั ยงั ชว่ ยประหยดั เวลาในการทำ� งาน

       ยงยุทธ ทองกองทุน ไดแ้ สดงทรรศนะเกย่ี วกบั บทภาพยนตร์ไว้วา่ ในทางปฏิบตั ิ กว่าจะได้แนว
ความคดิ หรอื ไอเดยี มาสรา้ งภาพภาพยนตรส์ กั เรอ่ื งจำ� เปน็ ตอ้ งผา่ นการประชมุ ปรกึ ษาหารอื และแลกเปลยี่ น
ความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวางของผู้ท่ีเกี่ยวข้องท้ังกรรมการบริหารบริษัท ผู้ท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญ
เร่อื งภาพยนตร์ ผู้ทีม่ คี วามรู้เร่ืองการตลาด โดยจะต้องมีการวิเคราะห์ถงึ จุดแขง็ จดุ อ่อน ปญั หา อปุ สรรค
และโอกาส อย่างละเอยี ดลึกซึ้งและรอบคอบ มีการเสริม เพิ่ม หรอื ปรบั ลด เพือ่ ให้เปน็ แนวความคิดหรอื
ไอเดียทด่ี ีและเหมาะสม

       เรอื่ งราวหรอื เนอ้ื หาของภาพยนตรไ์ ทยมกั นำ� มาจากบทประพนั ธน์ วนยิ ายของนกั เขยี นทม่ี ชี อ่ื เสยี ง
ซึ่งเขียนขึ้นส�ำหรับผู้อ่านวรรณกรรม โดยเฉพาะนิตยสารต่างๆ หรือที่ตีพิมพ์รวมเล่มในยุคท่ีผู้สร้าง
ภาพยนตร์ไทยมุ่งผลิตภาพยนตร์ขนาด 16 มม. กันออกฉายอย่างกว้างขวางน้ัน ปรากฏว่าได้น�ำเอา
นวนิยายขายดมี าสร้างเป็นภาพยนตร์กันอย่างดาษดนื่ โดยไดท้ ำ� เปน็ ละครวทิ ยขุ นึ้ กอ่ น เพ่อื จงู ใจให้ผ้อู ่าน
และผฟู้ งั เกดิ ความอยากทจี่ ะดภู าพยนตร์ ซงึ่ ในความเปน็ จรงิ แลว้ ถงึ แมภ้ าพยนตรก์ บั วรรณกรรมจะเปน็ การ
เลา่ เรอ่ื งราวจากมมุ ของผเู้ ลา่ กต็ าม แตว่ รรณกรรมเปน็ การเลา่ เรอ่ื งดว้ ยภาษาตวั อกั ษร ซงึ่ สามารถบอกเลา่
ถึงความคิดเห็น ความรู้สึก และสิ่งที่อยู่ภายในความคิดจิตใจของตัวละครได้ดีย่ิง ในขณะที่ภาพยนตร์
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23