Page 19 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 19
การวเิ คราะห์และประเมนิ ปจั จยั ในการบริหารงานภาพยนตร์ 2-7
เป็นการเลา่ ดว้ ยภาพเคล่ือนไหว ที่สามารถบอกเล่าถึงส่งิ ที่เป็นรปู ธรรมไดด้ ี แตห่ ากจะจับเอาวรรณกรรม
สกั เรอื่ งหนงึ่ มาสรา้ งเปน็ ภาพยนตรโ์ ดยไมด่ ดั แปลง ผลกค็ อื จะไดภ้ าพยนตรเ์ รอ่ื งหนง่ึ ทย่ี าก หรอื ไมก่ จ็ ะรก
รุงรังไปด้วยการท�ำเทคนิคพิเศษต่างๆ ท�ำให้มีการวิพากษ์วิจารณ์กันเป็นอย่างมากว่ามีคุณค่าด้อยกว่า
หนงั สอื แตเ่ นอ่ื งจากชอื่ เสยี งของนกั ประพนั ธห์ รอื เรอ่ื งราวของบทประพนั ธเ์ ปน็ ทถี่ กู ตาตอ้ งใจของแฟนหนงั
ไทยทตี่ อ้ งการเสพความบนั เทงิ ซงึ่ ตรงกบั รสนยิ มของตน ดงั นนั้ ผสู้ รา้ งภาพยนตรไ์ ทยจงึ รบั เอาบทประพนั ธ์
นน้ั ๆ มาดดั แปลงเปน็ บทภาพยนตร์ ยง่ิ ถา้ เปน็ เรอ่ื งทเี่ กรยี วกราวของนกั ประพนั ธห์ รอื บทประพนั ธท์ โี่ ดง่ ดงั
อนั เปน็ ทชี่ นื่ ชอบของคนทว่ั ไป กจ็ ะนำ� มาใชใ้ นการโฆษณาและประชาสมั พนั ธใ์ หเ้ กดิ ความรสู้ กึ วา่ ภาพยนตร์
ทจี่ ะสร้างนน้ั เป็น “หนงั ฟอรม์ ใหญ่”
อยา่ งไรกต็ าม บางครงั้ ผสู้ รา้ งภาพยนตรอ์ าจดงึ เอาเหตกุ ารณท์ น่ี า่ สนใจชวนแกก่ ารตดิ ตาม นำ� มา
เขยี นเปน็ บทภาพยนตรโ์ ดยเรง่ โฆษณาและประชาสมั พนั ธใ์ หค้ นทว่ั ไปรบั รู้ และจงู ใจใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ อยากดู
3. ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ การสรา้ งภาพยนตรบ์ นั เทงิ แตล่ ะเรอ่ื งนน้ั อาจกลา่ วไดว้ า่ ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์
เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการสร้างสรรค์ภาพยนตร์ตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดกระบวนการผลิตภาพยนตร์ ซ่ึงโดย
ท่ัวไปแล้วผู้ก�ำกับภาพยนตร์จะมี 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ประเภทท่ีท�ำหน้าที่เป็นผู้ควบคุม
ให้การถ่ายท�ำเป็นไปตามบทภาพยนตร์ กับผู้ก�ำกับภาพยนตร์ประเภทที่เป็นผู้ก�ำหนดความเป็นไปใน
ภาพยนตร์ตามแนวทางของตน ภาพยนตร์เร่ืองใดควรใช้ผู้ก�ำกับภาพยนตร์แบบใดนั้นข้ึนอยู่กับอ�ำนาจ
การตัดสินใจของผอู้ ำ� นวยการสรา้ งภาพยนตร์ทจี่ ะพจิ ารณาเลือกจา้ ง
อยา่ งไรกต็ าม ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตรถ์ อื เปน็ บคุ คลทม่ี คี วามสำ� คญั มาก เพราะเปน็ ผอู้ ยเู่ บอื้ งหลงั ความ
สำ� เรจ็ ของภาพยนตร์ ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตรถ์ อื เปน็ ลายมอื ชอ่ื หรอื สญั ลกั ษณ์ (signature) ของภาพยนตรเ์ รอื่ ง
น้ันๆ โดยผู้กำ� กับภาพยนตรจ์ ะเปน็ ผกู้ ำ� หนดแนวทางการสรา้ งสรรค์ใหก้ บั ภาพยนตรน์ อกเหนอื ไปจากบท
ภาพยนตร์ท่ีเขียนไว้แต่แรก ในขณะเดียวกันผลงานของผู้ก�ำกับภาพยนตร์ข้ึนอยู่กับความสามารถในการ
เช่ือมโยงส่วนประกอบต่างๆ ของการแสดงที่ไม่มีเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรในบทภาพยนตร์ แต่เขายัง
สามารถด�ำเนินต่อไปได้ โดยผู้ก�ำกับภาพยนตร์เป็นผู้ชี้แนะและก�ำหนดแนวทางการแสดงให้กับผู้แสดง
ภาพยนตรจ์ ะไมส่ ามารถเปน็ รปู รา่ งไดห้ ากขาดผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ จนิ ตนาการของผปู้ ระพนั ธจ์ ะไมส่ ามารถ
ถ่ายทอดสู่ผู้ดูภาพยนตร์ได้ เพราะขาดผู้ท่ีสร้างสรรค์ในการน�ำวัตถุดิบต่างๆ ในภาพยนตร์ให้เป็นภาพ
ปรากฏสผู่ ดู้ ู ดงั นน้ั ภาพยนตรแ์ ตล่ ะเรอื่ งจงึ เปรยี บเสมอื นงานทเ่ี ปน็ ตวั แทนความคดิ ของผกู้ �ำกบั ภาพยนตร์
แต่ละคน ซ่ึงผู้ดูภาพยนตร์ไทยมักจะยึดติดกับผลงานการก�ำกับของผู้ก�ำกับภาพยนตร์ที่ตนเคยดูมาแล้ว
ไม่ผิดหวัง ผู้ก�ำกับภาพยนตร์จึงพยายามสร้างภาพพจน์ในการก�ำกับภาพยนตร์ของตนให้เกิดแก่ผู้ดูกลุ่ม
เปา้ หมายของตนดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ เชน่ ภาพพจนเ์ รอ่ื งเจา้ บทบาททางอารมณห์ รอื ซาดสิ ม์ ภาพลกั ษณข์ อง
เศรษฐีเสียงฮา ภาพลักษณ์ของผู้มีอารมณ์ละเมียดละไมทางอารมณ์แห่งความรัก ภาพลักษณ์ของเศรษฐี
ตุ๊กตาทอง ภาพลักษณ์ของผู้ก�ำกับที่พิถีพิถันและลงทุนในฉากบู๊หรือฉากตลก ภาพลักษณ์ของผู้ก�ำกับท่ี
สรา้ งแตภ่ าพยนตรด์ มี คี ณุ ภาพ ภาพลกั ษณข์ องผกู้ �ำกบั แบบ “คลน่ื ลกู ใหม”่ ภาพลกั ษณข์ องผกู้ �ำกบั ทเี่ ปน็
นกั วชิ าการ ภาพลกั ษณข์ องผกู้ ำ� กบั ประเภท “ขวญั ใจวยั รนุ่ ” ฯลฯ และเมอื่ ภาพยนตรท์ ตี่ นกำ� กบั ไดร้ บั การ
ยอมรบั ในภาพลกั ษณแ์ บบใดแลว้ กม็ กั จะกำ� กบั ภาพยนตรแ์ นวนนั้ ตลอดไป จนถอื วา่ เปน็ “สไตล”์ (style)
ประจำ� ตัว