Page 22 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 22
2-10 การบริหารงานภาพยนตร์
ช่วงเวลาทเ่ี หมาะสม ต้องวเิ คราะหห์ าจดุ ขายทท่ี ำ� ใหค้ นสนใจเข้าดู ถ้าพลาดแล้วไม่มโี อกาสแก้ตัว เพราะ
ภาพยนตรเ์ รอื่ งนนั้ จะตอ้ งถกู ถอดออกจากโปรแกรมของโรงภาพยนตร์ การโฆษณานจ้ี งึ เปรยี บเสมอื น “ทพั
หลวง” ท่ที ำ� ขนึ้ เพื่อโหมกระตุ้นให้คนดเู กิดความต้องการเข้าชมภาพยนตร์เร่ืองนนั้ ๆ
7. การประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ เปน็ การบอกขา่ วสารเกย่ี วกบั ภาพยนตรค์ วบคไู่ ปกบั การสรา้ ง
ภาพยนตรเ์ พอื่ ใหภ้ าพยนตรเ์ รอ่ื งนนั้ ๆ มขี า่ วคราวใหผ้ ดู้ รู บั รเู้ ปน็ ระยะๆ โดยชว่ ยสรา้ งความสนใจและเรา้ ใจ
ใหเ้ กดิ ความตอ้ งการคอยดภู าพยนตรเ์ รอ่ื งดงั กลา่ วตอ่ ไป ในขน้ั ตอนของการถา่ ยทำ� ฝา่ ยประชาสมั พนั ธอ์ าจ
ทำ� ขา่ วประชาสมั พนั ธก์ ารถา่ ยทำ� หรอื เขา้ ไปเกบ็ ภาพการถา่ ยทำ� เพอื่ ใชก้ ารทำ� ขา่ วประชาสมั พนั ธใ์ นโอกาส
ต่อไป เม่ือภาพยนตร์ผ่านข้ันตอนของการถ่ายท�ำพร้อมน�ำออกฉาย การประชาสัมพันธ์จะช่วยให้ข้อมูล
เกย่ี วกบั ภาพยนตร์ การประชาสมั พนั ธภ์ าพยนตรจ์ งึ เปรยี บเสมอื นเปน็ “ทพั หนา้ ” ทจี่ ะตอ้ งแถลงหรอื แสดง
ความเคลอื่ นไหวและความคบื หนา้ ของการสรา้ งภาพยนตร์ ในลกั ษณะการใหค้ วามรหู้ รอื ใหข้ า่ วสารแกก่ ลมุ่
ผู้ดูกลุ่มเป้าหมาย เช่น แจ้งวัตถุประสงค์ของการสร้างภาพยนตร์เร่ืองท่ีตนผลิต และสาระสรุปของเรื่อง
เป็นตน้ หรือเปน็ การสร้างความรู้สึกให้แก่กลุ่มเปา้ หมายเพ่ือให้เกดิ ภาพพจน์ทีด่ ีต่อบริษัทผสู้ รา้ ง โดยเห็น
ถงึ ความช�ำนาญในประสบการณ์การสรา้ งภาพยนตร์จนเปน็ ทยี่ อมรบั เป็นตน้
นอกจากนนั้ การประชาสมั พนั ธย์ งั เปน็ การเสรมิ สรา้ งความรสู้ กึ เชอ่ื มน่ั ศรทั ธาและความภาคภมู ใิ จ
ใหแ้ กท่ มี งานสรา้ งภาพยนตร์ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ภาระหนา้ ทข่ี องตนมากยง่ิ ขนึ้ ซงึ่ เทา่ กบั ทำ� ให้
ภาพยนตรม์ คี ณุ ภาพมากขนึ้ การประชาสมั พนั ธจ์ งึ ตอ้ งมคี วามยดื หยนุ่ และคลอ่ งตวั สงู เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั
สภาพการณ์ต่างๆ ในการทำ� ใหก้ ลุม่ เป้าหมายรับรู้ เช่น เป็นการสร้างความมัน่ ใจใหแ้ หลง่ เงินทุนของการ
สร้างภาพยนตร์เกิดความสนใจและให้การสนบั สนนุ เปน็ การสร้างใหก้ ลมุ่ ผู้ดเู ปา้ หมายของภาพยนตร์เรื่อง
นั้นเกดิ ภาพพจน์ท่ดี ี มคี วามรสู้ กึ เชอื่ มั่น ศรัทธา ไว้วางใจ อนั จะสง่ ผลตอ่ รายไดข้ องภาพยนตร์เมือ่ เร่ิมเขา้
ฉาย และเปน็ การเผยแพรข่ า่ วสารทางออ้ มดว้ ยการจา่ ยเงนิ เปน็ คา่ ตอบแทน โดยพยายามทำ� ใหภ้ าพยนตร์
หรือส่ิงที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์เร่ืองนั้นเป็นข่าว เพ่ือเรียกความสนใจของคนให้แห่ไปดูหนัง โดยเฉพาะ
การเป็นข่าวในหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์ ซึ่งมานพ อุดมเดช ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ไทยถึงกับกล่าวว่า
“นอกจากจะเปน็ การโฆษณาโดยไม่ตอ้ งเสียค่าโฆษณาแต่อยา่ งใดแล้ว เนอื้ ทใ่ี นหนา้ หนึ่งของหนังสอื พิมพ์
ทุกฉบับนั้นดูเหมือนจะไม่มีเนื้อท่ีให้กับหนังเลย หนังเร่ืองใดได้เป็นข่าวในหน้าหน่ึงนี้โดยไม่อาศัยกลเม็ด
ให้เป็นข่าวแล้วละก็ หน้าหน่ึงท่ีว่านี้แหละสามารถประกันได้เลยว่าหนังเรื่องน้ันรวยเละ ท่ีผ่านมาไม่เคยมี
หนังเร่ืองใดได้ข้ึนหน้าหน่ึงของหนังสือพิมพ์รายวัน ไม่ว่าฉบับใหญ่หรือฉบับเล็กโดยไม่อาศัยลูกเล่นสร้าง
ตวั เองใหเ้ ปน็ ข่าว”
การวิเคราะห์และประเมินปัจจัยเก่ียวกับโครงสร้างของการผลิตภาพยนตร์ตามท่ีกล่าวข้างต้น
นอกจากจะมีแต่ละปัจจัยเกี่ยวกับโครงสร้างของการผลิตภาพยนตร์ท่ีดีแล้ว ยังต้องค�ำนึงถึงการประสาน
สมั พนั ธก์ นั ของแต่ละปจั จยั ท่ีตอ้ งเก้ือหนนุ ตอ่ การสร้างสรรค์คุณภาพ ท้ังนี้เพอ่ื ให้ภาพยนตรเ์ ร่ืองที่ผลติ ขึน้
นนั้ มคี วามสมบรู ณท์ สี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะท�ำได้ เมอื่ ภาพยนตรม์ คี วามสมบรู ณใ์ นการสรา้ งและมคี ณุ ภาพดแี ลว้ ยอ่ ม
เป็นหลักประกันได้เป็นอย่างดีว่า ภาพยนตร์เรื่องนั้นๆ จะประสบความส�ำเร็จเมื่อน�ำออกฉายเผยแพร่ต่อ
สาธารณชน