Page 25 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 25
การวเิ คราะห์และประเมนิ ปัจจยั ในการบรหิ ารงานภาพยนตร์ 2-13
9. บทบาทของภาพยนตร์มาจากเรื่องราวที่ต้องการถ่ายทอดให้ผู้ดูรับรู้ ดังนั้น การน�ำเสนอ จึง
น�ำเอาเรื่องดังกล่าวมาผูกเข้าด้วยกัน แล้วคล่ีคลายปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อหวังผลให้ผู้ชมมี
ความพึงพอใจ
การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ผชู้ มภาพยนตร์ ถอื เปน็ สง่ิ ทม่ี คี วามสำ� คญั ตอ่ ผสู้ รา้ งภาพยนตรเ์ ปน็ อยา่ ง
มาก ทงั้ นี้ เพราะการผลติ ภาพยนตรแ์ ตล่ ะเรอ่ื งนน้ั ตอ้ งสน้ิ เปลอื งคา่ ใชจ้ า่ ยสงู มาก จงึ ควรทผ่ี สู้ รา้ งภาพยนตร์
จะตอ้ งทำ� ความรจู้ กั กลมุ่ ผชู้ มเปา้ หมายของตนใหม้ ากทส่ี ดุ เทา่ ทจี่ ะทำ� ได้ โดยจะตอ้ งตระหนกั ตอ่ วตั ถปุ ระสงค์
ของผู้ชมวา่ มคี วามตอ้ งการรบั รูเ้ พ่ืออะไร มีความรูแ้ ละประสบการณ์ใกล้เคยี งหรอื แตกตา่ งกัน มคี วามรสู้ กึ
ต่อเรื่องราวที่จะน�ำเสนออย่างไร มีบุคลิกภาพและลักษณะทางประชากรศาสตร์แตกต่างกันหรือไม่และ
อยา่ งไร ทั้งในเรื่องระดบั ความรู้ รสนิยม ค่านิยม ระดบั ความนกึ คดิ และการยอมรับสภาพท่เี ปน็ จรงิ ของ
กลุ่มผู้ชม ซึ่งถ้าก�ำหนดกลุ่มเปา้ หมายกวา้ ง เชน่ ประชาชนทว่ั ไป ขอบเขตของการเล็งกลมุ่ ผู้ชมเปา้ หมาย
กท็ ำ� ไดไ้ มแ่ มน่ ยำ� ขาดพลงั การเขา้ ถงึ ผชู้ มกลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะของตน นน้ั หมายความวา่ กลมุ่ ผดู้ ภู าพยนตร์
จะเปน็ พวกขาจร โดยมิได้เป็นแฟนหรือต้งั ใจออกจากบา้ นไปดหู นงั เรื่องทีส่ ร้างข้ึนนีโ้ ดยตรง แตถ่ า้ ดกู เ็ พื่อ
เปน็ การฆ่าเวลาหรือหลบลมร้อนเข้าไปรับกล่นิ ไอแอร์อะไรท�ำนองนัน้ ฉะน้ันผูส้ รา้ งภาพยนตรแ์ ต่ละคนจะ
ต้องหาผู้ชมท่ีเป็นขาประจ�ำของตนให้พบว่าเป็นใคร มีความต้องการท่ีจะดูอะไร ถูกต้องกาลเทศะหรือไม่
ซึ่งถ้าวิเคราะห์ผู้ชมภาพยนตร์ท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมายของตนได้ถูกต้อง โอกาสที่จะประสบความส�ำเร็จย่อม
ตดิ ตามมาอย่างแนน่ อนโดยเฉพาะในดา้ นรายได้
การวิเคราะห์และประเมินผู้ชมภาพยนตร์ของผู้สร้างภาพยนตร์แต่ละคนน้ัน อาจมีความแตกต่าง
ในด้านวิธีการ แต่จุดมุ่งหมายสุดท้ายก็ล้วนแล้วแต่เป็นการค้นหาแนวตลาดที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้ชม
เป้าหมายของตน ในท่ีนี้จึงขอเสนอแนวทางหน่ึงที่ใช้ประกอบการพิจารณาการวิเคราะห์และประเมินผู้ชม
ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยาของผู้ชม (phychological approach) และการวิเคราะห์ลักษณะทาง
ประชากรของผู้ชม (demographical approach)
1. การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยาของผู้ชม ผู้สร้างภาพยนตร์จะต้องพิจารณาว่ากลุ่มเป้าหมายของ
ตนที่ต้องการให้เขาดูภาพยนตร์นั้น มีความต้องการให้เขารับรู้อะไร มีอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม
และรสนิยมอย่างไร เช่น ผ้ชู มประเภททีช่ มชอบกบั การปลกุ เรา้ ใหเ้ กดิ ความฮึกเหิม (encouragement) ก็
มักจะเลอื กชมภาพยนตร์ท่สี ่งเสริมกำ� ลังใจในลกั ษณะนี้ ผดู้ ทู ช่ี มชอบกับภาพยนตรท์ ดี่ ูแลว้ เกดิ ความบรรลุ
รูถ้ งึ ตน้ สายปลายเหตุ (enlightening) กม็ ักจะเลือกดภู าพยนตรท์ ีม่ กี ารผูกปมซอ่ นเงื่อน เม่ือถงึ จุดหนง่ึ ท่ี
คลค่ี ลายได้กจ็ ะมีความร้สู ึกในความกระจา่ งชดั น้นั ผ้ชู มที่ชมชอบกบั ภาพยนตรท์ ี่สนกุ สนาน (entertain-
ment) กจ็ ะเลอื กชมภาพยนตรท์ ่ีให้ความบนั เทิงเรงิ รมยโ์ ดยไมอ่ ยากนำ� กลบั ไปขบคดิ เป็นตน้
2. การวิเคราะห์จากลักษณะทางประชากรของผู้ชม เป็นการพิจารณาถึงสภาพที่เป็นอยู่ของ
ผ้ชู ม เช่น สถานภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คม เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา ศาสนา และภมู ลิ ำ� เนา เป็นต้น
ผู้ชมกลุ่มเป้าหมายที่มีลักษณะประชากรที่แตกต่างกัน ความต้องการเลือกดูภาพยนตร์ก็ย่อมแตกต่างไป
ด้วย ตัวอย่างเช่น ภาพยนตร์ท่ีผูกพันกับเร่ืองราวในอดีตนั้น กลุ่มผู้ชมมักจะมีแนวโน้มเป็นผู้สูงอายุ
ภาพยนตร์ท่ีเป็นเรื่องหลีกหนีชีวิตและพาฝันมักได้รับความนิยมจากผู้ชมที่มีสถานภาพทางเศรษฐกิจและ
สงั คมไมค่ อ่ ยสงู มากนกั ภาพยนตรท์ ส่ี นกุ ครนื้ เครง รกั กระจมุ๋ กระจมิ๋ ของวยั รนุ่ ในเมอื งมกั มตี ลาดเปา้ หมาย