Page 28 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 28
2-16 การบริหารงานภาพยนตร์
กิจกรรม 2.1.2
จงอธิบายแนวทางที่ใช้วิเคราะห์ผู้ชมภาพยนตร์ โดยพิจารณาจากลักษณะเชิงจิตวิทยาของผู้ชม
(phychological approach) และลกั ษณะทางประชากรของผู้ชม (demographical approach)
แนวตอบกิจกรรม 2.1.2
แนวทางท่ีใช้ประกอบการวิเคราะห์ผู้ชมภาพยนตร์ โดยพิจารณาจากลักษณะเชิงจิตวิทยาของ
ผชู้ ม และลักษณะทางประชากรของผูช้ ม มดี งั น้ี
1. การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยาของผู้ชม เป็นการพิจารณาว่ากลุ่มเป้าหมายของตนที่ต้องการให้ดู
ภาพยนตร์น้นั มีความต้องการรบั รอู้ ะไร มอี ารมณ์ ความรสู้ ึกนกึ คดิ คา่ นยิ มและรสนยิ มอย่างไร เป็นต้น
2. การวเิ คราะหจ์ ากลกั ษณะทางประชากรของผชู้ ม เปน็ การพจิ ารณาถงึ สภาพทเี่ ปน็ อยขู่ องผชู้ ม
เชน่ สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา ศาสนา และภูมิล�ำเนา เปน็ ต้น ผชู้ ม
กลุ่มเป้าหมายทมี่ ีลักษณะประชากรที่แตกตา่ งกนั ความตอ้ งการเลือกดภู าพยนตร์ก็ยอ่ มแตกต่างไปด้วย
เร่ืองท่ี 2.1.3
การวิเคราะห์ช่วงเวลาและวัฒนธรรมเพ่ือการผลิตภาพยนตร์
คำ� กลา่ วทว่ี า่ “ถกู กาลเทศะ” นน้ั งา่ ยแกก่ ารเออ้ื นเอย่ แตเ่ มอื่ จะนำ� ไปปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตอ้ งและเหมาะ
สมนนั้ นบั เปน็ สงิ่ ทย่ี ากยง่ิ สำ� หรบั ผทู้ ข่ี าดการวนิ จิ ฉยั วเิ คราะหก์ ารณไ์ วล้ ว่ งหนา้ โดยเฉพาะในการคาดการณ์
เพ่ือการวิเคราะห์แนวตลาดภาพยนตร์ ท้ังนี้เนื่องจากอารมณ์ความต้องการรับรู้ของมนุษย์น้ันไม่คงที่
ผนั แปรอยตู่ ลอดเวลาโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเรอื่ งของการแสวงหาความบนั เทงิ ทม่ี าจากมหรสพ จนมบี างคน
กล่าวว่าภาพยนตร์เปรียบเสมือนด่ัง “มายา” ท่ีผู้สร้างภาพยนตร์อาจร�่ำรวยหรือยากจนทันทีท่ีหนังออก
ฉายไดไ้ ม่นาน ดงั นั้น ผ้สู ร้างภาพยนตร์พงึ ต้องรับรปู้ ัจจยั ท่ีก�ำหนดลักษณะเฉพาะของหนงั ไทยท่สี ัง่ สมมา
จากวฒั นธรรมทางการแสดงของคนไทย แลว้ ถา่ ยทอดสบื ตอ่ เนอื่ งกนั มาเปน็ เวลาชา้ นาน กลา่ วคอื เมอ่ื หนงั
ไทยเขา้ มามบี ทบาทในฐานะทเ่ี ปน็ การแสดงโดยเปน็ มหรสพอยา่ งหนงึ่ ทใี่ หค้ วามบนั เทงิ ปรากฏวา่ มหรสพ
ในรูปแบบอื่นๆ ยังคงมีอยู่ ดังน้ัน หนังไทยจึงได้รับเอาอิทธิพลรูปแบบของการแสดงอย่างไทยๆ ที่มีอยู่
แลว้ แตเ่ ดมิ เขา้ ไว้ ซงึ่ ในทนี่ ้ี ใครน่ ำ� เอาผลการวเิ คราะหล์ กั ษณะของการแสดงอนั เปน็ วฒั นธรรมทมี่ กี นั มาชา้
นานของนักวิชาการบางทา่ นมาเปน็ กรอบความคดิ เพ่อื ให้ผบู้ รหิ ารงานภาพยนตร์รับรู้ ได้แก่
เจมส์ อาร์ แบรนดอน (James R. Brandon) ไดว้ เิ คราะห์ลักษณะการแสดงในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ว่าละครท่ีแสดงจะมีลักษณะที่เป็นเร่ืองยืดยาวอ้อมค้อม และโครงสร้างของละครแบ่งเป็นตอนๆ