Page 30 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 30
2-18 การบริหารงานภาพยนตร์
สาย หรอื การลงเลน่ นำ�้ ก็ไมจ่ �ำเป็นตอ้ งมนี �้ำใหล้ งเล่น เพยี งแตแ่ สดงทา่ ทางก็ได้ ซ่งึ ทา่ ทางการแสดงจงึ มกั
นำ� มาแสดงออกเม่อื เป็นภาพยนตร์เช่นกัน
อารดา กรี ะนนั ท์ ไดอ้ ธบิ ายวา่ การแสดงละครนอกไมเ่ ครง่ ครดั ในประเพณี มกั หาจดุ แทรกใหต้ ลก
โปกฮาดว้ ยบทเจรจาเมอื่ โอกาสอำ� นวย มากกวา่ ทจ่ี ะคำ� นงึ ถงึ เนอื้ เรอ่ื ง ซงึ่ ทำ� ใหก้ ารสรา้ งภาพยนตรไ์ ทยใน
ยคุ แรกๆ มีการถา่ ยทำ� โดยไม่คอ่ ยสนใจบทภาพยนตรเ์ ท่าใดนกั และมกั จะมกี ารแทรกความตลกโปกฮาไว้
อยู่เป็นประจำ�
ศริ ชิ ยั ศริ กิ ายะ ไดแ้ สดงความเหน็ วา่ ความแพรห่ ลายของลเิ กซง่ึ ตรงกบั ชว่ งทห่ี นงั ไทยเรม่ิ ปรากฏ
ตัวครง้ั แรก คงมผี ลตอ่ หนงั ไทยอยไู่ มน่ อ้ ย ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากบทบาทของผู้ควบคมุ วง ซึ่งท�ำหนา้ ทีค่ ลา้ ยกบั
ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ในสมัยนั้นท่ีต้องควบคุมการแสดงตามพล็อตเรื่อง หรือบอกบทให้เล่นในแต่ละฉาก
ในขณะนนั้ ขณะเดยี วกนั กย็ งั เชอ่ื วา่ สว่ นหนง่ึ ของพฒั นาการของหนงั ไทยเปน็ ผลสบื ทอดมาจากอทิ ธพิ ลของ
การแสดงลิเก เพราะลเิ กมีอิทธิพลตอ่ ศลิ ปะการแสดงพน้ื บา้ นอนื่ ๆ ในยุคนน้ั ฉะนนั้ วฒั นธรรมลิเกจงึ นำ� มา
ผนวกเข้าไว้จนกลายเป็นจารีตของหนังไทยเพื่อเรียกร้องคนดู หรือความเคยชินของผู้สร้างท่ีคิดเอาว่าวิธี
การแสดงแบบลเิ กจะท�ำใหค้ นเขา้ ดหู นงั ไทยของตน โดยเฉพาะเรอื่ งของความตลกทต่ี อ้ งมตี วั ตลกตามพระ
ตามนาง นอกจากนี้ยังได้กล่าวว่า นวนิยายไทยก็เป็นปัจจัยอีกอันหนึ่งซึ่งมีผลกระทบต่อเน้ือหาและ
รูปลักษณข์ องหนงั ไทย เพราะหนงั ไทยมักจะเอาเรือ่ งท่ีเป็นนวนิยายขายดีมาสร้างเปน็ หนงั หรอื มีอทิ ธพิ ล
ทางอ้อมท่ีท�ำให้ผู้สร้างหนังเอาไปเป็นแนวทางในการสร้างเร่ืองเพื่อท�ำเป็นหนัง หนังไทยส่วนใหญ่จะเป็น
เรอ่ื งหนไี ปจากความเปน็ จรงิ ของชวี ติ ทมี่ งุ่ ไปทางกายมากกวา่ ทางจติ เพอื่ เรง่ เรา้ ใหเ้ กดิ ความตรงึ ใจ ความ
นา่ กลวั ความนา่ สงสาร ความเหน็ ใจ จนถงึ ความเกลยี ด ซงึ่ ลกั ษณะของเนอื้ เรอ่ื งแบบน้ี เรยี กวา่ เมโลดรามา
(melodrama) ท้ังนี้เพื่อผ่อนคลายอารมณ์ผู้ดูให้หนีออกไปจากชีวิตจริงที่ตนประสบอยู่ และจะจบลงด้วย
ความสมหวงั ตอนทา้ ยของเรอื่ ง
เมอื่ ภาพยนตรไ์ ทยเกดิ ขน้ึ ทา่ มกลางการรบั เอาอทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมการแสดงมหรสพของคนไทย
เข้าไปเป็นของตน การแสดงออกหรือการนำ� เสนอของภาพยนตรไ์ ทยจงึ มลี ักษณะอยา่ งไทยๆ โดยผสู้ ร้าง
ภาพยนตรซ์ งึ่ สว่ นใหญแ่ ลว้ เตบิ โตจากแวดวงมหรสพไทยกม็ แี นวคดิ ทเี่ ขา้ ใจวา่ แนวทางการแสดงทจี่ ะไดร้ บั
ความนิยมคงไมแ่ ตกต่างจากมหรสพอนื่ ประกอบกับกลุม่ ผ้ดู ภู าพยนตร์ไทยก็เป็นกลมุ่ ท่ีดู เคยดู หรือเคย
รับรลู้ กั ษณะเฉพาะของวฒั นธรรมการแสดงของมหรสพไทยท่เี ป็นรูปแบบอน่ื มาแลว้ ดังน้ันกรอบแห่งการ
อา้ งองิ (frame of reference) และปรบิ ทการสอ่ื สาร (communication context) จงึ สอดคลอ้ งกนั เหมอื น
ดงั คำ� กลา่ วทว่ี า่ “เบอ้ื งหลงั เสยี งกลอง คอื คนตกี ลองเบอ้ื งหลงั คนตกี ลองคอื สงั คม” นน่ั หมายความวา่ “เบอื้ ง
หลังการน�ำเสนอภาพยนตร์ ก็คือผู้สร้างภาพยนตร์และเบ้ืองหลังผู้สร้างภาพยนตร์ก็คือ พฤติกรรมการดู
ภาพยนตร์ของคนในสงั คมทไี่ ด้รับการส่ังสมมาจากวัฒนธรรมทางการแสดงทผี่ ูกจติ ติดใจคนดู”
การสร้างภาพยนตรแ์ ตล่ ะเร่ืองนัน้ นอกจากจะตอ้ งสิ้นค่าใช้จา่ ยจำ� นวนมากแล้ว ยงั เป็นเรอื่ งทตี่ ้อง
ใช้เวลาทั้งในข้ันตอนเตรียมงานก่อนการผลิตภาพยนตร์ (pre-production phase) ขั้นตอนการถ่ายท�ำ
ภาพยนตร์ (production phase) และข้นั ตอนหลงั การผลติ ภาพยนตร์ (post-production phase) การ
ติดตามและคอยประเมินเพ่ือค้นหาความต้องการในด้านความบันเทิงของผู้ดูกลุ่มเป้าหมายถือเป็นเร่ือง
ละเอียดอ่อนท่ีต้องอาศัยระยะเวลา ซ่ึงถ้าวิเคราะห์ช่วงเวลาของความต้องการได้ถูกต้องตามบรรทัดฐาน