Page 33 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 33
การวเิ คราะหแ์ ละประเมินปจั จัยในการบริหารงานภาพยนตร์ 2-21
ตอนท่ี 2.2
การวิเคราะห์และประเมินปัจจัยแวดล้อมในการบริหารงานภาพยนตร์
โปรดอา่ นหวั เรื่อง แนวคดิ และวัตถปุ ระสงคข์ องตอนท่ี 2.2 แลว้ จึงศึกษารายละเอยี ดต่อไป
หัวเร่ือง
2.2.1 การวิเคราะห์และประเมินปัจจยั ด้านเศรษฐกิจ
2.2.2 การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ปัจจยั ด้านสังคมและวัฒนธรรม
2.2.3 การวิเคราะหแ์ ละประเมินปัจจยั ด้านการเมอื ง
2.2.4 การวเิ คราะห์และประเมนิ ปจั จยั ดา้ นเทคโนโลยี
แนวคิด
1. ป ัจจัยทางเศรษฐกิจถือเป็นปัจจัยที่มีความส�ำคัญต่อการบริหารงานภาพยนตร์ในทุกขั้น
ตอน การวิเคราะห์และประเมินปัจจัยด้านเศรษฐกิจ จะเป็นการวิเคราะห์และประเมิน
เกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ เศรษฐกิจของผู้ประกอบการธุรกิจ
ภาพยนตร์ เศรษฐกิจของผู้ปฏิบัติงานในธุรกิจภาพยนตร์ และเศรษฐกิจของประชาชน
ผ้ชู มภาพยนตร์
2. ป จั จยั ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรมยอ่ มมผี ลตอ่ การบรหิ ารงานภาพยนตรท์ ง้ั ในระดบั นโยบาย
และในระดบั ปฏบิ ตั กิ ารการสรา้ งสรรคก์ ารผลติ ภาพยนตร์ อาทิ การกำ� หนดเรอื่ ง เนอ้ื หา
สาระ และการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ การเลือกดารานักแสดง ตลอดจนเทคนิคและวิธี
การน�ำเสนอด้วยภาพและเสียงในภาพยนตร์
3. ปจั จยั ดา้ นการเมอื งการปกครองมคี วามสมั พนั ธเ์ กย่ี วขอ้ งและมผี ลกระทบตอ่ การบรหิ าร
งานภาพยนตร์ในทุกข้ันตอน ท้ังลักษณะท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยปัจจัย
ด้านการเมืองมักส่งผลให้เกิดกติกา ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง รวมถึง
อ�ำนาจมืดและอิทธิพลแอบแฝงกับการด�ำเนินธุรกิจภาพยนตร์ ดังน้ัน ในการบริหาร
ภาพยนตรจ์ ึงตอ้ งมกี ารวิเคราะหแ์ ละประเมินปจั จัยด้านการเมอื งเสมอ
4. ป ัจจัยด้านเทคโนโลยีส่งผลกระทบให้เกิดความเปล่ียนแปลงต่อธุรกิจภาพยนตร์ท้ังด้าน
การผลิตภาพยนตร์ การจดั ฉายภาพยนตร์ และการรบั ชมภาพยนตรข์ องผชู้ ม ผ้บู ริหาร
งานภาพยนตร์จึงต้องมีการติดตาม วิเคราะห์และประเมินปัจจัยด้านเทคโนโลยีที่
เกย่ี วขอ้ งอยู่เสมอ เพ่อื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการในการบรหิ ารงานภาพยนตร์