Page 37 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 37

การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ปัจจัยในการบรหิ ารงานภาพยนตร์ 2-25
ตอ่ ไปได้ แต่ผลตอบแทนทีม่ ใี หก้ ับผปู้ ฏิบัติงานก็จะอยู่ในอัตราที่ตำ่�  จนส่งผลใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านในวิชาชีพขาด
ความมั่นคงด้านรายได้ แม้จะมีบางส่วนท่ียังคงมีจิตใจรักและผูกพันหรือมีจิตวิญญาณของความเป็น
นกั วชิ าชพี ภาพยนตรแ์ ละยงั คงปฏบิ ตั งิ านในธรุ กจิ ภาพยนตรอ์ ยบู่ า้ งกต็ าม หรอื มบี างสว่ นอาจตอ้ งปฏบิ ตั งิ าน
ด้านอ่ืนเพ่ิมเติมเพ่ือเป็นรายได้เสริม หรือเพ่ือชดเชยกับรายได้ส่วนท่ีขาดหายไป บ่อยครั้งท่ีผู้ก�ำกับ
ภาพยนตร์และบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในวงการภาพยนตร์บันเทิงจ�ำนวนไม่น้อยเปล่ียนงานไปอยู่ในแวดวง
วิชาชพี สื่ออื่น อาทิ โทรทัศน์ หรืออน่ื ๆ เพราะประสบปัญหาและขาดความมน่ั คงในทางเศรษฐกิจสำ� หรบั
การปฏบิ ัตงิ านในวิชาชีพภาพยนตร์

       ดังน้ัน จึงอาจกล่าวว่าการท่ีผู้ปฏิบัติงานหรือนักวิชาชีพในธุรกิจภาพยนตร์ประสบกับปัญหาทาง
ด้านเศรษฐกิจ ขาดความมั่นคงในการประกอบวิชาชีพ ย่อมส่งผลให้ละทิ้งการปฏิบัติงานในวิชาชีพหรือ
หนั ไปประกอบวชิ าชพี อนื่ ทม่ี คี วามมน่ั คงกวา่ ทำ� ใหว้ งการภาพยนตรข์ าดบคุ ลากรทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถ
และมปี ระสบการณต์ รงทจี่ ะชว่ ยพฒั นาและยกฐานะวชิ าชพี ดา้ นภาพยนตรใ์ หม้ คี ณุ ภาพสงู ขนึ้ และเมอ่ื คำ� นงึ
ถึงผลในระยะยาว ย่อมก่อให้เกิดปัญหาในการพัฒนาคุณภาพวิชาชีพด้านภาพยนตร์ที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
ขาดการยกระดบั มาตรฐานการผลติ ภาพยนตรใ์ หม้ คี ณุ ภาพจนสามารถแขง่ ขนั และเปน็ ทย่ี อมรบั ในเวทรี ะดบั
ชาตแิ ละระดบั นานาชาติได้

       3. 	เศรษฐกิจของประชาชนผู้ชมภาพยนตร์ สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจของประชาชนในฐานะ
ผู้บริโภคส่ือถือเป็นปัจจัยส�ำคัญของความส�ำเร็จและความอยู่รอดของธุรกิจภาพยนตร์ เพราะรายได้หลัก
ของภาพยนตรม์ าจากการซอื้ บตั รเขา้ ชมภาพยนตร์ และ/หรอื การซอ้ื สนิ คา้ หรอื บรกิ ารทเี่ กยี่ วขอ้ งในรปู แบบ
ต่างๆ การทีป่ ระชาชนผ้ชู มภาพยนตรม์ ฐี านะที่ดี มีรายได้สูง หรือมีฐานะทางเศรษฐกิจดี กม็ กั จะซื้อบัตร
เข้าชมภาพยนตร์ และซ้ือหรอื ใชบ้ ริการเสรมิ อ่นื ๆ ท่ีเกยี่ วข้องกับธุรกจิ ภาพยนตร์

       การศึกษาวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ ในหลายครั้งพบว่ารายได้ของครอบครัวมีความ
สัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญกับพฤติกรรมเปิดรับส่ือ กล่าวคือ ผู้ท่ีมีรายได้ในระดับสูงหรือรายได้ดีจะบริโภค
ส่ือประเภทตา่ งๆ ในอตั ราทสี่ งู กวา่ ผทู้ มี่ รี ายได้ต�ำ่ ทั่วๆ ไป ทั้งนี้เพราะการชมภาพยนตรใ์ นโรงภาพยนตร์
ไมใ่ ชป่ จั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ย์ โดยเฉพาะผทู้ ม่ี รี ายไดห้ รอื มฐี านะทางเศรษฐกจิ ไมด่ ี กม็ กั
จะต้องน�ำรายได้ไปใช้จ่ายในสิ่งท่ีจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินชีวิตมากกว่าก่อน โดยเฉพาะอย่างย่ิงกับการชม
ภาพยนตร์ที่จ�ำเป็นต้องซื้อบัตรเข้าชมภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์ เมื่อเปรียบเทียบกับการบริโภคส่ือ
ประเภทอ่นื ๆ ท่ีมีราคาถกู กว่า

       อาจกล่าวได้ว่า ฐานะทางเศรษฐกิจของประชาชนผู้ชมภาพยนตร์มีความสัมพันธ์กับความส�ำเร็จ
และความอยู่รอดของธุรกิจภาพยนตร์ การที่ประชาชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดีก็มีแนวโน้มที่จะซ้ือบัตรเข้า
ชมภาพยนตร์ในช่วงเวลาว่าง เพื่อแสวงหาความบันเทิงหรือเพ่ือผ่อนคลายความตึงเครียดในภาระหน้าท่ี
การงานทร่ี บั ผดิ ชอบในแตล่ ะวนั ในทางกลบั กนั หากมฐี านะทางเศรษฐกจิ ทไ่ี มด่ ี หรอื มรี ายไดน้ อ้ ย กจ็ ำ� เปน็
ตอ้ งประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ ชวี ติ ประจำ� วนั การตดั สนิ ใจจบั จา่ ยใชส้ อยกจ็ ะตอ้ งจำ� กดั เฉพาะสง่ิ ของ
หรือปัจจัยทจี่ ำ� เป็นต่อการดำ� เนนิ ชีวิตก่อนเท่านั้น

       กลา่ วโดยสรปุ ปจั จยั ทางดา้ นเศรษฐกจิ ไมว่ า่ จะเปน็ ภาวะเศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ เศรษฐกจิ
ของผู้ประกอบการธุรกิจภาพยนตร์ เศรษฐกิจของผู้ปฏิบัติงานในธุรกิจภาพยนตร์ และเศรษฐกิจของ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42