Page 36 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 36
2-24 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
อาจกลา่ วไดว้ า่ การดำ� เนนิ ธรุ กจิ หรอื อตุ สาหกรรมภาพยนตรเ์ กอื บทง้ั หมดหรอื ภาพยนตรเ์ กอื บทกุ
ประเภทโดยเฉพาะธุรกิจภาพยนตร์บันเทิงที่ส่วนใหญ่จะด�ำเนินการโดยภาคเอกชนในลักษณะเชิงธุรกิจที่
มุ่งหวงั การแสวงหารายได้ ไม่มีการผกู ขาด และสามารถด�ำเนินการได้อยา่ งคอ่ นข้างอิสระเสรมี ากขึ้น (แม้
จะมีกฎหมายหรอื พ.ร.บ. ภาพยนตรก์ ำ� กบั อย่บู า้ งกต็ าม) ดงั นั้นหากพิจารณาการบริหารงานภาพยนตร์
ในลกั ษณะเชงิ ธรุ กจิ กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งสรา้ งรากฐานทางเศรษฐกจิ และตอ้ งใชห้ ลกั การตลาด เพอ่ื ใหธ้ รุ กจิ สามารถ
อยรู่ อดไดภ้ ายใตภ้ าวะการแขง่ ขนั โดยผบู้ รหิ ารงานภาพยนตรจ์ ะตอ้ งมกี ารวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ปจั จยั ทาง
ดา้ นเศรษฐกิจใน 3 ดา้ น ได้แก่ เศรษฐกจิ ของผปู้ ระกอบการธรุ กิจภาพยนตร์ เศรษฐกิจของผปู้ ฏบิ ัติงาน
ในธรุ กิจภาพยนตร์ และเศรษฐกิจของประชาชนผ้ชู มภาพยนตร์
1. เศรษฐกจิ ของผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ภาพยนตร์ ภาพยนตรเ์ ปน็ ธรุ กจิ ทผ่ี ปู้ ระกอบการตอ้ งดำ� เนนิ
การภายใต้ภาวะของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันกับตัวเองและการแข่งขันกับคู่แข่ง ผู้ประกอบการในท่ีนี้มี
ความหมายรวมถึงบริษัทผูส้ รา้ งภาพยนตร์ บริษัทผจู้ ัดจ�ำหนา่ ยภาพยนตร์ บริษทั ผู้จดั ฉายภาพยนตร์หรือ
โรงฉายภาพยนตร์ ประกอบกบั ภาพยนตร์ซึง่ ถอื เป็นสินคา้ ทีม่ ีความเส่ยี งในแงก่ ารลงทุน เพราะเปน็ สนิ คา้
ที่มีความไม่แน่นอนของอุปสงค์ (demand) ไม่อาจคาดคะเนความนิยมในการเข้าชมภาพยนตร์ของผู้ดูที่
แน่นอนตายตัวได้
ธุรกิจภาพยนตร์เป็นธุรกิจท่ีต้องมีการลงทุนสูงโดยเฉพาะหากพิจารณาในด้านต้นทุนการผลิต
ภาพยนตรท์ ตี่ อ้ งการสรา้ งใหม้ คี ณุ ภาพสงู มคี วามสมจรงิ รวมถงึ จะตอ้ งมกี ารโฆษณาและการประชาสมั พนั ธ์
ในขณะเดียวกนั ก็มีข้อจ�ำกัดดา้ นการตลาด ทีย่ ังคงเปน็ ตลาดภายในประเทศเสียเป็นสว่ นใหญ่ แมจ้ ะเรมิ่ มี
การเปิดตลาดออกสู่ต่างประเทศบ้างก็ตาม ดังน้ัน หากพิจารณาสภาวะเศรษฐกิจของผู้ประกอบธุรกิจ
ภาพยนตร์ อาจตอ้ งพจิ ารณาวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ใน 2 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นตน้ ทนุ การผลติ และดา้ นการตลาด
ดา้ นต้นทุนการผลติ เนื่องจากการสร้างภาพยนตร์ท่มี คี ุณภาพและมคี วามสมจรงิ ตอ้ งใชบ้ ุคลากร
ทีม่ ีคณุ ภาพ มีความร้คู วามสามารถ มคี วามเปน็ มืออาชีพจำ� นวนมาก ตอ้ งใช้อุปกรณท์ ่ีมีคุณภาพสงู ต้อง
จดั สรา้ งฉากและจดั หาสถานทถี่ า่ ยทำ� ทม่ี คี วามสมจรงิ เปน็ ตน้ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งใชง้ บประมาณในการลงทนุ สงู
ภายในระยะเวลาอนั สั้น
ดา้ นการตลาด ภาพยนตรเ์ ปน็ สนิ คา้ ทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะตวั ทม่ี คี วามแตกตา่ งจากสนิ คา้ ทวั่ ไป เพราะ
แมภ้ าพยนตรแ์ ตล่ ะเร่ืองจะมีตน้ ทนุ ในการสร้างแตกต่างกันไป แตร่ าคาตัว๋ เข้าชมภาพยนตร์จะเทา่ กันหรอื
ใกลเ้ คยี งกนั ทกุ เรอื่ ง ดงั นน้ั การแขง่ ขนั จงึ ทำ� ไดโ้ ดยการแขง่ ขนั ทางดา้ นการสง่ เสรมิ การขายไมใ่ ชก่ ารแขง่ ขนั
กนั ในดา้ นราคา นอกเหนอื จากรายไดจ้ ากการเขา้ ชมภาพยนตรใ์ นโรงภาพยนตรซ์ งึ่ ถอื เปน็ รายไดห้ ลกั แลว้
อาจมีรายได้จากการหาสปอนเซอร์ และการขายหรือเผยแพร่ภาพยนตร์ผ่านช่องทางต่างๆ อาทิ ดีวีดี
อนิ เทอร์เนต็
2. เศรษฐกิจของผู้ปฏิบัติงานในธุรกิจภาพยนตร์ เศรษฐกิจของผ้ปู ฏิบัตงิ านในธรุ กจิ ภาพยนตร์
เป็นผลกระทบสืบเนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจของผู้ประกอบการธุรกิจภาพยนตร์ กล่าวคือ หากบริษัท
ผู้ประกอบการมีความมั่นคงย่อมส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานหรือนักวิชาชีพมีความม่ันคงไปด้วย และในทางตรง
กันข้าม หากสถานะทางเศรษฐกิจของผู้ประกอบการขาดความม่ันคง ก็ย่อมส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานหรือ
นกั วชิ าชพี ขาดความมนั่ คงในการประกอบวชิ าชพี ไปดว้ ย แมบ้ รษิ ทั ผปู้ ระกอบการจะพอยงั คงดำ� เนนิ กจิ การ