Page 41 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 41

การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ปจั จัยในการบริหารงานภาพยนตร์ 2-29
ของตน ความเสียหายก็จะสง่ ผลต่อความนิยม ศรัทธา เสอ่ื มใส และเปน็ ผลเสียตอ่ ภาพลกั ษณ์ของบริษัท
ผสู้ รา้ งภาพยนตรเ์ รอ่ื งนน้ั ๆ ในทสี่ ดุ ในทางตรงขา้ ม หากบรษิ ทั ผสู้ รา้ งตระหนกั และใหค้ วามสำ� คญั กบั ปจั จยั
แวดล้อมทางสังคมก่อนด�ำเนินสร้างภาพยนตร์ ก็อาจได้รับแรงผลักดันในทางบวก จนเป็นปัจจัยส่งเสริม
และสนบั สนนุ ใหก้ ารจัดสร้างและฉายภาพยนตรป์ ระสบผลส�ำเร็จได้โดยงา่ ย

       ปจั จยั แวดลอ้ มทางสงั คมมผี ลตอ่ การบรหิ ารงานภาพยนตรท์ งั้ ในระดบั นโยบาย และในระดบั ปฏบิ ตั กิ าร
การสร้างสรรคก์ ารผลิตภาพยนตร์ อาทิ การกำ� หนดเรอ่ื ง เนื้อหาสาระ และการเล่าเรือ่ งในภาพยนตร์ การ
เลอื กดารานักแสดง ตลอดจนเทคนคิ และวิธกี ารนำ� เสนอดว้ ยภาพและเสยี งในภาพยนตร์

       ตวั อยา่ งเกย่ี วกบั แรงผลกั ดนั ทางสงั คมตอ่ ธรุ กจิ ภาพยนตรม์ ปี รากฏใหเ้ หน็ มากมาย เชน่ การเรยี ก
รอ้ งสทิ ธห์ิ รอื การคดั คา้ นการนำ� เสนอภาพยนตรท์ มี่ เี นอื้ หาทมี่ คี วามรนุ แรง หรอื ไมเ่ หมาะสม ขดั ตอ่ ศลี ธรรม
ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีและวฒั นธรรมอันดีงามของสังคม หรือปรากฏประเด็นเน้ือหาทอ่ี าจส่อไปในทาง
ที่ล่วงละเมิดสิทธ์ิและขัดต่อผลประโยชน์ของกลุ่มสังคมต่างๆ เช่น กลุ่มเด็ก กลุ่มสตรี กลุ่มศาสนา กลุ่ม
สิทธมิ นุษยชน กลมุ่ วิชาชพี กลมุ่ องค์กรภาคเอกชนท่ีไม่แสวงหาผลกำ� ไรดา้ นต่างๆ เป็นตน้

       ผบู้ รหิ ารงานภาพยนตรส์ ามารถรบั รแู้ ละประเมนิ เกย่ี วกบั กระแสความตอ้ งการของกลมุ่ สงั คมตา่ งๆ
ดว้ ยการคอยสดับตรับฟัง ไม่วา่ จะเป็นการพบปะพูดคุยกบั ผูน้ �ำหรอื สมาชิกของกลุ่มสังคมต่างๆ การฟงั ดู
หรืออ่านข้อคิดความเห็นจากบทวิเคราะห์ หรือบทความทางส่ือมวลชนแขนงต่างๆ ตลอดจนการติดตาม
ความเคล่อื นไหวของกล่มุ สงั คมที่เกีย่ วขอ้ งอย่างตอ่ เนอื่ งและสมำ�่ เสมอ

       สำ� หรบั ในกรณขี องภาพยนตรไ์ ทย ดว้ ยเหตผุ ลทภี่ าพยนตรไ์ ทยเกดิ ขนึ้ ทา่ มกลางการรบั เอาอทิ ธพิ ล
ของวฒั นธรรมของการแสดงมหรสพของคนไทย โดยผสู้ รา้ งภาพยนตรส์ ว่ นใหญใ่ นระยะแรกมาจากแวดวง
มหรสพไทย และเรยี นรกู้ ารสรา้ งภาพยนตรจ์ าก “ครคู รอบวชิ าใหแ้ กว่ งการหนงั ไทย” ฉะนน้ั ภาพยนตรไ์ ทย
ในระยะแรกๆ จึงมีลักษณะแบบไทยๆ ท่ีผู้บริหารและผู้สร้างภาพยนตร์ยึดติดอยู่ ทั้งโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัว
เมอ่ื วิเคราะหแ์ ละประเมินจากปัจจยั ด้านสังคมเพื่อการคาดการณใ์ นการวเิ คราะห์แนวตลาดภาพยนตร์ จะ
พบวา่ “ลกั ษณะของหนงั ไทยมกั ตดิ อยกู่ บั จารตี ของการแสดงของไทยทสี่ นองตอ่ ความตอ้ งการของคนดู คน
ทีม่ าดหู นังไทยส่วนใหญม่ าหาความบนั เทิงสนกุ สนาน เป็นการผอ่ นคลายอารมณ์ใหช้ วั่ ขณะหนงึ่ ดังน้ัน ผู้
ดจู ะสนกุ เพลดิ เพลนิ ไปกบั สงิ่ ทตี่ นไดด้ ู ไมต่ อ้ งการนำ� เอาอะไรตดิ ตวั กลบั ไปดว้ ยหลงั จากทก่ี ารแสดงนน้ั จบ
สิ้นแล้ว จารีตอันน้ียังคงติดแน่นอยู่กับคนไทยส่วนใหญ่ โดยเฉพาะคนในต่างจังหวัดซึ่งเป็นผู้ดูส่วนใหญ่
ของหนงั ไทย”

       อยา่ งไรก็ตาม ในระยะหลังการเปลย่ี นแปลงทางสังคมของคนที่มีการศึกษาโดยเฉพาะคนในเมือง
ที่ได้เรียนรู้วิทยาการสมัยใหม่ กอปรกับกระแสของภาพยนตร์ต่างประเทศ รวมท้ังกลุ่มผู้สร้างภาพยนตร์
รนุ่ ใหม่ ซงึ่ ไดศ้ กึ ษาการสรา้ งหนงั จากตา่ งประเทศโดยตรง และทำ� หนงั ตามหลกั สากลเพม่ิ ขน้ึ ไดเ้ รมิ่ นำ� เอา
หลักวิชาการท่ีได้เรียนมาใช้ในการสร้างภาพยนตร์ตลอดมาตั้งแต่ทศวรรษ 2510 เป็นต้นมา ดังนั้น การ
วเิ คราะหป์ จั จยั ดา้ นสงั คมจึงจำ� เปน็ ต้องพิจารณากลุม่ คนดอู กี กลมุ่ หน่งึ กล่าวคอื “ผู้ดูหนงั ในเมืองเร่มิ ท่จี ะ
เปล่ยี นแปลงในการดหู นัง เขาไมต่ ้องการเฉพาะความสนกุ เท่านั้น แตต่ ้องเป็นความสนุกทใี่ หค้ วามคิด ได้
ใชค้ วามคดิ พจิ ารณาและมอี ะไรตดิ กลบั ออกไปจากการดหู นงั คนเมอื งเหลา่ นจี้ งึ มลี กั ษณะทมี่ คี วามสามารถ
ในการเลอื กดหู นงั ทเ่ี ขาควรจะดเู ปน็ อยา่ งไร และคนเหลา่ นต้ี อ้ งการทจ่ี ะเลอื กดว้ ย จงึ มหี นงั อกี แนวหนง่ึ ขน้ึ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46