Page 44 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 44

2-32 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
            2.3 	การลอกเลียนแบบภาพยนตร์อเมริกันโดยขาดความเข้าใจท�ำให้น�ำเสนอเน้ือหาสาระ

ไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกบั สภาพของสงั คมไทย
            2.4 	การกา้ วจากยคุ ภาพยนตรเ์ งยี บมาสภู่ าพยนตรเ์ สยี งในระยะเวลาอนั สนั้ สง่ ผลใหเ้ ปน็ ขอ้

จ�ำกัดในการน�ำเสนอภาพโดยมกี ารใชภ้ าษาเสยี งมากเกินไป
            2.5 	สภาพผชู้ มภาพยนตรส์ ว่ นใหญย่ งั คงนยิ มชมชอบกบั โครงเรอื่ งและปญั หาชวี ติ แบบไทยๆ

มักเข้าชมภาพยนตร์เพื่อมุ่งแสวงหาความบันเทิงมากกว่าการดูเพื่อจะน�ำมาขบคิดหรือพูดคุยถึงปัญหาใน
สังคมอยา่ งจรงิ จัง

เร่ืองท่ี 2.2.3
การวิเคราะห์และประเมินปัจจัยด้านการเมือง

       อริสโตเติล (Aristotle) นักปรัชญาเมธีชาวกรีกได้กล่าวไว้ว่า “มนุษย์โดยธรรมชาติเป็นสัตว์
การเมือง” ซง่ึ โดยนัยนห้ี มายความวา่ การเกดิ ของสังคมเปน็ การเมืองการกระท�ำร่วมกนั ของบุคคลตัง้ แต่
สองคนขน้ึ ไปจงึ เปน็ การกระทำ� ทางการเมอื ง การเมอื งจงึ เปน็ กจิ กรรมของมนษุ ยภ์ ายในชมุ ชน ซงึ่ ประกอบ
ไปด้วยบุคคลต่างๆ ท่ีหลากหลาย มีผลประโยชน์ มีธรรมเนียมประเพณีที่แตกต่างกัน แต่มารวมกันอยู่
ภายในอาณาเขตเดียวกัน และมีการปกครองเดียวกัน เพ่ือธ�ำรงรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายใน
ชุมชนการเมืองน้ัน ในอันที่จะขจัดปัญหาหรือความข้ดแย้งทางสาธารณะ การจัดสรรแบ่งปัน หรือการ
ประสานประโยชนท์ รพั ยากรหรอื สง่ิ ทม่ี คี ณุ คา่ ในสงั คมตามโอกาสและความสำ� คญั ของกลมุ่ และบคุ คล เพอื่
ความคงอยแู่ ละสวสั ดภิ าพของสงั คมโดยสว่ นรวม ฉะนนั้ มนษุ ยท์ กุ คนในสงั คมจงึ ตอ้ งเกยี่ วขอ้ งกบั การเมอื ง
นบั ตงั้ แตเ่ กดิ จนตาย ทงั้ นเี้ พราะสงั คมเปน็ สง่ิ ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ มกี ารแบง่ แยกหนา้ ทใี่ หบ้ คุ คลรบั ผดิ ชอบและ
พ่งึ พาซงึ่ กนั และกันสังคมเป็นสง่ิ ทเี่ กดิ ขึน้ ในโลกแห่งความเป็นจริง โดยแต่ละคนเปน็ ผลผลิตของสงั คมทม่ี ี
กฎเกณฑ์ กตกิ าและลกั ษณะเฉพาะตวั ซง่ึ ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ในตวั ของมนั เอง สงั คมคอื กลมุ่ ความ
สัมพันธท์ างสงั คมของมนุษย์ เพราะประกอบด้วยพฤตกิ รรมทางสังคมลกั ษณะตา่ งๆ ของมนุษย์ท่มี คี วาม
สัมพันธ์โยงใยระหว่างมนุษย์ด้วยกัน สังคมคือระบบของธรรมเนียมปฏิบัติและสถาบัน (a system of
morms and institutions) เพราะประกอบด้วยระเบยี บกฎเกณฑ์ซง่ึ สมาชกิ ในสงั คมยึดถือปฏิบัติในการ
สัมพันธก์ ับบุคคลอืน่ โดยมนษุ ยแ์ ตล่ ะคนต้องกระท�ำให้สอดคล้องกับธรรมเนยี มปฏิบัตขิ องสังคม

       เมื่อเปน็ เชน่ น้ีมนษุ ย์ สังคม และการเมอื งจึงเป็นเร่ืองทห่ี ลอ่ หลอมเปน็ อันหนึ่งอนั เดียวกัน ไม่อาจ
แยกออกจากกนั เชน่ เดยี วกนั การสรา้ งภาพยนตรน์ บั ตง้ั แตค่ วามคดิ ทจี่ ะสรา้ งจนกระทงั่ สกู่ ารนำ� ภาพยนตร์
ออกจัดจำ� หน่ายหรือจดั ฉายลว้ นแลว้ ต้องเกีย่ วข้องกับการเมอื งทัง้ สิน้ ดงั น้ัน จงึ อาจกล่าวได้ว่าปัจจยั ด้าน
การเมอื งเปน็ ปัจจัยที่คงหลีกเลี่ยงไม่พ้นทผ่ี ู้บริหารงานภาพยนตรจ์ ะต้องวเิ คราะห์
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49