Page 40 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 40

2-28 การบริหารงานภาพยนตร์
       8. 	ค่านิยม ระเบียบประเพณี และวัฒนธรรม (value traditions and culture) หมายถึง ความ

เช่ือและประเพณีปฏิบัติของสังคมในสังคมไทย ได้แก่ การละเล่นเพ่ือฉลองเทศกาลต่างๆ ค่านิยมในการ
ท่องเท่ียวตา่ งประเทศ คา่ นิยมในการใชช้ วี ิต ฯลฯ

       เปน็ ทย่ี อมรบั กนั โดยทวั่ ไปวา่ ภาพยนตรเ์ ปน็ สอื่ ทมี่ อี ทิ ธพิ ลและผลกระทบตอ่ สงั คมและวฒั นธรรม
โดยรวม ท้ังในทางบวกและลบไม่น้อย แต่หากพิจารณาในมุมกลับ โครงสร้างของสังคมและวัฒนธรรมที่
ปรากฏให้เห็นเป็นรูปธรรมดังกล่าวข้างต้นก็เป็นปัจจัยท่ีมีอิทธิพลและเป็นแรงผลักดันส�ำคัญต่อธุรกิจ
ภาพยนตร์เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่ีทั้งในกระแสของสังคมโลกและกระแสของสังคมไทยต่างให้
ความส�ำคัญกับประเด็นเกี่ยวกับเร่ืองสิทธิมนุษยชน ความมีเสรีภาพ ความเสมอภาคหรือเท่าเทียมของ
สงั คมทกุ ระดบั ชัน้ ทัง้ ในระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน ระดับทอ้ งถ่นิ ไปจนถงึ ระดับชาติ โดยจะสงั เกตเหน็
ไดจ้ ากการทมี่ กี ารรวมกลมุ่ ทางสงั คม การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของกลมุ่ ชมุ ชนหรอื สงั คมยอ่ ยเพอ่ื ใหส้ ามารถ
มีสิทธิ์ มีเสียง มีพลังในการเรียกร้อง ปกป้องและพิทักษ์สิทธิ์และผลประโยชน์ของคนในชุมชนและสังคม
ในดา้ นตา่ งๆ จนกลายเปน็ กระแสสงั คม และกระแสสงั คมเหลา่ นล้ี ว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การ
ดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานหรือองค์การท้งั ในภาครัฐและเอกชนอยา่ งหลกี เลี่ยงไมไ่ ด้ กลา่ วคอื กิจกรรมใดๆ
ท่ีหนว่ ยงานหรือองค์การด�ำเนินการจะต้องไม่ทวนกระแส ไม่ลว่ งละเมดิ สิทธ์ิ ไม่ขดั ผลประโยชน์ ไมส่ ร้าง
ความเสื่อมเสยี กับกล่มุ คน ชุมชนและสงั คมทกุ ระดับช้ัน เช่นเดยี วกับการดำ� เนินธรุ กิจดา้ นภาพยนตร์ก็มกั
จะได้รบั แรงผลกั ดันจากปจั จยั ทางสังคมดงั กลา่ ว ทง้ั ในดา้ นบวกและลบเชน่ เดยี วกนั

       แต่ละกลุ่มสังคมย่อยหรือแต่ละกลุ่มผลประโยชน์สาธารณะจะมีความแตกต่างกันในด้านความคิด
ความสนใจ ทัศนคติ ความต้องการ ความเช่ือ และค่านิยมในเร่ืองต่างๆ ความแตกต่างเหล่านี้ส่งผลให้
เกิดการรวมกลุ่มเคลื่อนไหวรณรงค์เพ่ือเรียกร้อง พิทักษ์หรืออ้างสิทธ์ิ และอาจถึงข้ันการต่อต้านด้วย
เปา้ หมายทต่ี อ้ งการใหก้ ลมุ่ ทางสงั คมของตนดำ� รงอยใู่ นสงั คมใหญไ่ ดอ้ ยา่ งชอบธรรมและเปน็ ทยี่ อมรบั ความ
เคลื่อนไหวของแต่ละกลุ่มสังคมเปรียบเสมือนเป็นแรงผลักดันที่มีต่อสังคมใหญ่ และหากแรงผลักดันใด
ได้รับการสนบั สนนุ จากสมาชกิ ในสังคมใหญ่ แรงผลักดันนัน้ ก็จะกลายเป็นสงิ่ ทีย่ อมรับนับถือ ยดึ ม่ัน และ
อาจพฒั นาเปน็ บรรทัดฐานของสังคมต่อไป

       หากพจิ ารณาถงึ การบรหิ ารงานภาพยนตรแ์ ลว้ กลมุ่ ผลประโยชนใ์ นสงั คมระดบั หรอื ลกั ษณะตา่ งๆ
ดงั กลา่ วข้างตน้ นับวนั จะมีมากขน้ึ และมบี ทบาทและอิทธพิ ลจนกลายเป็นแรงผลกั ดนั ส�ำคญั ต่อการดำ� เนิน
ธรุ กิจภาพยนตร์ การกลุ่มผลประโยชนเ์ หลา่ นีม้ ีส่วนส�ำคัญท้งั ในดา้ นการสอดส่องดแู ล ตดิ ตาม ตรวจสอบ
ตลอดจนการเสนอแนะหรอื ใหข้ อ้ คดิ เหน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั สรา้ ง จดั จำ� หนา่ ย หรอื จดั ฉายภาพยนตร์ ซง่ึ
ผู้บริหารงานภาพยนตร์จ�ำเป็นต้องสดับตรับฟังและประมวลความรู้สึกท้ังในทางบวกและลบอย่างพินิจ
พเิ คราะห์ มกี ารตดิ ตามวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ความเคลอ่ื นไหวเกย่ี วกบั การดำ� เนนิ กจิ กรรมและรบั ทราบถงึ
ข้อเรียกร้องของกลุ่มสังคมต่างๆ เหล่าน้ีอย่างต่อเนื่อง สม�่ำเสมอ เพื่อน�ำข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน
สมบรู ณม์ าใชป้ ระกอบการพจิ ารณาวางแผนงานและดำ� เนนิ ธรุ กจิ ภาพยนตรใ์ หเ้ ปน็ ทพ่ี งึ พอใจและไดร้ บั การ
ยอมรบั จากทกุ ฝา่ ยในสงั คม

       ในอดีตมีหลายกรณีท่ีปัจจัยทางสังคมมีส่วนผลักดันท�ำให้ไม่สามารถสร้างหรือจัดฉายภาพยนตร์
ตามความคาดหวงั ของบรษิ ทั ผสู้ รา้ งภาพยนตรไ์ ด้ แตห่ ากผสู้ รา้ งจะยงั คงยนื ยนั ดำ� เนนิ การสรา้ งตามตอ้ งการ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45