Page 42 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 42
2-30 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
มาเพ่ือสนองต่อคนท่อี ยู่ในเมอื ง เป็นแนวก้าวหน้าสมจริง มีเหตมุ ีผล ใหข้ ้อคิดแง่คดิ ตอ้ งการให้ตปี ญั หา
ท้าทายตอ่ การโต้แยง้ ซ่งึ ลกั ษณะดังกล่าวนีแ้ ตกต่างกับจารตี ด้ังเดิมของการแสดงของไทยโดยสนิ้ เชงิ หนัง
แนวใหมน่ เี้ องทเี่ รม่ิ หนั ออกจากการมองเฉพาะชวี ติ สว่ นตวั ของตวั ละคร โดยจะมองปฏสิ มั พนั ธข์ องชวี ติ สว่ น
ตวั ของกลมุ่ คนเมอื งกบั คนชนบท และในระยะหลงั หนงั ไทยแนวกา้ วหนา้ ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มมกั แสดงออกมา
ในรูปของตัวละครท่ีเป็นชาวชนบท แต่มีปฏิสัมพันธ์กับคนเมือง เช่น ทองพูน โคกโพราษฎรเต็มข้ัน
ไมส่ นิ้ เสนห่ า เทพธดิ าโรงงาน แตห่ นงั ไทยเหลา่ นย้ี งั จำ� กดั ขอบเขตอยแู่ คป่ ฏสิ มั พนั ธเ์ ฉพาะในแงท่ เ่ี ปน็ ชวี ติ
สว่ นตวั ยงั ไม่กา้ วออกไปแสดงถงึ ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งชวี ิตส่วนตัวกับชวี ติ การทำ� งานอยา่ งจรงิ จงั เลยแมแ้ ต่
เรื่องเดียว ในความเป็นจริงแล้ว บทบาทของงานมีผลกระทบมาถึงชีวิตส่วนตัวเกิดขึ้นอยู่เป็นประจ�ำของ
ชีวิตสังคมเมือง สิ่งที่ผู้สร้างหนังไทยต้องปรับปรุงเพื่อพร้อมที่จะยืนขึ้นทัดเทียมกับชาติอื่นๆ ก็โดยการ
ศกึ ษาสงั คมเมอื งในยคุ ทท่ี กุ คนตอ้ งทำ� งานและงานมผี ลตอ่ ชวี ติ สว่ นตวั รวมทง้ั ชวี ติ สว่ นตวั ทมี่ ผี ลกระทบตอ่
งาน น่ันก็คือ การท�ำให้เกิดปฏิสนธิระหว่างมหภาคกับจุลภาคของชีวิตมนุษย์และสังคมผสมเข้ากับ
ปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งคนเมอื ง (คนรวยผดู้ ี) กับคนชนบท (ยากจนและต่�ำตอ้ ย)
ถงึ แมภ้ าพยนตรไ์ ทยทสี่ รา้ งขนึ้ จะไดร้ บั ความส�ำเรจ็ หรอื ไมก่ ต็ าม ภาพยนตรไ์ ทยยงั เปน็ สอื่ ทม่ี คี วาม
สำ� คญั ในสงั คมไทยอยู่ ดว้ ยเหตผุ ลทว่ี า่ ประการแรกภาพยนตรไ์ ทยเปน็ ทนี่ ยิ มของประชาชนทว่ั ไป ประการ
ที่สองภาพยนตร์ไทยเป็นสื่อท่ีช่วยกระจายและเผยแพร่ความทันสมัยท่ีเกิดขึ้นในสังคมให้ประชาชนได้รับ
ทราบอย่างกว้างขวาง ประการที่สามภาพยนตร์ไทยมีรูปลักษณ์ที่แตกต่างจากภาพยนตร์ในสังคมอื่นๆ
กลา่ วคอื สามารถสะทอ้ นให้เหน็ ชวี ติ และสภาพสังคมไทยได้ชดั เจน และประการทีส่ ีเ่ นอื้ หาสาระส�ำคัญของ
ภาพยนตร์ไทยเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา โดยเราสามารถวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงน้ีเพ่ือแสดงให้เห็น
แนวโน้มการเปล่ียนแปลงทางสังคมได้พอสมควร ภาพยนตร์จึงเปรียบเสมือนกระจกเงาท่ีสะท้อนให้เห็น
ภาพบางส่วนของสังคม นอกจากนี้ภาพยนตร์ไทยถือเป็นสื่อท่ีมีความเหมาะสมกับลักษณะของคนไทย
เพราะหนงั ไทยมักจะเสนอโครงเรอ่ื งและปัญหาชวี ิตแบบไทยๆ เท่าท่ีคนไทยรจู้ กั และเขา้ ใจ โดยรปู ลักษณ์
ของภาพยนตรไ์ ทยไดร้ วมเอาองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของชวี ติ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั การดภู าพยนตรก์ ค็ อื การถอดตวั เอง
ออกจากร่างของตัวเอง หรือการหลีกหนีใหพ้ น้ จากชีวิตจริงของตนเองชั่วระยะเวลาหนง่ึ เพอื่ ทจ่ี ะได้ไปเห็น
ชวี ติ และปญั หาของคนอน่ื บนจอ แตก่ ารดผู อู้ น่ื ถา้ จะใหส้ นกุ ตอ้ งสามารถเขา้ รวมวญิ ญาณเพอ่ื ถา่ ยทอดความ
รู้สึกและอารมณ์ของตนเองให้เข้ากับเร่ืองคนอี่นได้ (empathy) เพราะฉะนั้นการดูภาพยนตร์จึงเป็นการ
หลีกหนี (escape) ชนดิ หนง่ึ เพ่ือพ้นจากสภาพชวี ติ ความเปน็ จริงของตนเอง และยังอาจเปน็ การเพ้อผัน
วา่ ชวี ติ ของตนจะดแี ละสวยงามขนึ้ (fantasy) การเสนอเคา้ โครงเรอ่ื งทซี่ ำ้� กนั หรอื คลา้ ยกนั ประเภททเ่ี รยี กวา่
“นำ้� เนา่ ” ยงั คงประสบความสำ� เรจ็ ตอ่ ประชาชนสว่ นใหญ่ เนอื่ งจาก “หนงั ไทยเปน็ สอ่ื สบื ทอดจารตี ยาวนาน
ของโลกที่หยุดนิ่งและได้ช่วยผดุงแนวคิดเกี่ยวกับโลกและชีวิตท่ีอาศัยอยู่ จุดจบของหนังไทยกลับมาหา
จดุ เริ่มตน้ ทเี่ ป็นความสงบ และในท่สี ดุ โลกกเ็ หมอื นเดิมเป็นอย่างทีม่ นั เคยเป็นชั่วนาตาปี”
การตดิ ตามข้อมูลขา่ วสาร ความเปล่ียนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรมในด้านต่างๆ จึงถอื เปน็ สิ่ง
ส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีผู้บริหารภาพยนตร์จะต้องกระท�ำอย่างสม�่ำเสมอและต่อเน่ือง เพื่อน�ำมาเป็น
ข้อมูลประกอบการวิเคราะหแ์ ละกำ� หนดเปน็ แนวทางการผลติ การจัดจำ� หน่าย และการจัดฉายภาพยนตร์