Page 31 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 31
การวเิ คราะหแ์ ละประเมินปัจจัยในการบรหิ ารงานภาพยนตร์ 2-19
ของสงั คม (norm) แลว้ โอกาสทจ่ี ะประสบความสำ� เรจ็ ในการผลติ ภาพยนตรท์ มี่ คี นดนู ยิ มชมชอบและกลา่ ว
ขวัญถงึ ย่อมเปน็ ของผู้สรา้ งนัน้
ยงยุทธ ทองกองทนุ ไดแ้ สดงทรรศนะเกยี่ วกบั การกำ� หนดชว่ งเวลาท่ฉี าย (ก�ำหนดการฉาย) ไว้
วา่ เปน็ การพจิ ารณาคาดการณช์ ว่ งเวลาทภ่ี าพยนตรจ์ ะออกฉายตามโรงภาพยนตร์ หากภาพยนตรส์ ามารถ
น�ำออกฉายในชว่ งเวลาที่เหมาะสม ก็จะส่งผลตอ่ จำ� นวนผูเ้ ข้าชมและยอดรายได้ เชน่ ชว่ งต้นปี ช่วงกลาง
ปี ชว่ งปลายปี ชว่ งปดิ เทอมหรอื ชว่ งสอบเสรจ็ ชว่ งทมี่ วี นั หยดุ ยาว หรอื ชว่ งเทศกาล ซงึ่ การจะไดช้ ว่ งเวลา
ที่ดี ผู้สร้างภาพยนตร์ก็ต้องสร้างความเช่ือมั่นกับโรงภาพยนตร์ว่าฟอร์มภาพยนตร์ของตนจะมีผู้เข้าชม
จำ� นวนมาก ทำ� ภาพยนตรต์ วั อยา่ งทด่ี ี ถา้ ผบู้ รหิ ารโรงภาพยนตรเ์ ชอ่ื มน่ั อยา่ งทผ่ี บู้ รหิ ารการผลติ ภาพยนตร์
น�ำเสนอ เขาจะเทโรงภาพยนตรใ์ ห้ ภาพยนตร์เร่อื งอืน่ ๆ กจ็ ะหลีกทางได้
การวเิ คราะห์ช่วงเวลาท่ีนิยมใชก้ ันในการสร้างภาพยนตรไ์ ทยแบง่ เป็น 2 วิธี ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์
ชว่ งเวลาโดยพจิ ารณาดูจากฤดกู าล เช่น การสร้างภาพยนตร์ใหท้ ันกบั เทศกาลตา่ งๆ (ตรุษจนี สงกรานต์
ปใี หม่ ฯลฯ) หรอื ชว่ งเวลาปดิ -เปดิ ภาคการศกึ ษา (ตอ้ นรบั เปดิ เทอม ปดิ เทอม) ฤดกู ารเกบ็ เกยี่ ว งานบญุ
งานบวช งานประเพณี เป็นต้น และการวิเคราะหโ์ ดยพจิ ารณาจากกระแสของความนิยม เช่น ยุคหลัง 14
ตลุ าคม ทค่ี นตน่ื ตวั กบั เรอื่ งการตอ่ สเู้ รยี กรอ้ งความเปน็ ธรรม ยคุ เศรษฐกจิ ตกตำ�่ ภาพยนตรม์ กั จะสรา้ งเพอ่ื
หลกี หนีความเลวร้ายทางเศรษฐกจิ โดยหันเหใหค้ นดูเกดิ ความรสู้ ึกตื่นเต้น หวาดเสียว ปลกุ อารมณ์ทาง
เพศ เป็นต้น
ในประเดน็ วฒั นธรรมนน้ั มผี กู้ ลา่ ววา่ “ภาพยนตรส์ ามารถเขา้ ถงึ คนหมมู่ ากไดง้ า่ ยทสี่ ดุ และเรว็ ทส่ี ดุ
สามารถเป็นเคร่ืองมือที่วิเศษและเป็นอาวุธที่น่าสะพรึงกลัว ตัวอย่างที่เคยมีมาแล้ว ไม่ใช่เพราะหนังเร่ือง
Triump of Will หรอกหรือท่ีท�ำให้พรรคนาซีข้ึนมาสู่อ�ำนาจ ไม่ใช่เพราะหนังหรอกหรือท่ีท�ำให้ชาว
ฟลิ ปิ ปนิ สส์ ามารถพดู ตากาลอ็ กไดถ้ ว้ นทว่ั เพราะแตก่ อ่ นนนั้ ชาวฟลิ ปิ ปนิ สพ์ ดู สารพดั ภาษาจนกระทงั่ รฐั บาล
ที่แลเห็นการณ์ไกลของประเทศเข้าบังคับให้หนังทุกเรื่องใช้ภาษาตากาล็อก ไม่ใช่เพราะหนังทีวีจากญ่ีปุ่น
ดอกหรือที่ท�ำให้เด็กไทยได้รู้จักไอ้มดแดงดีกว่าพระยาพิชัยดาบหัก” และในภาพยนตร์แต่ละเรื่องอาจมี
พฤติกรรมบางอย่างที่ดูเสมือนหนึ่งต้องการให้ผู้ดูดูแล้วรับรู้ว่าเป็นวัฒนธรรมหรือเอกลักษณ์ที่มีความโน้ม
เอยี งใหเ้ กดิ การเลยี นแบบ แตน่ นั่ กเ็ ปน็ แคอ่ าภรณท์ ส่ี รา้ งเสนห่ ใ์ หแ้ กห่ นงั เพยี งชวั่ ระยะสน้ั ๆ ทมี่ คี นทำ� ตาม
เพยี งจ�ำนวนหนงึ่ เท่าน้นั โดยผู้สรา้ งภาพยนตร์มุ่งหมายให้คนกลมุ่ น้ที เ่ี รียกวา่ “แก๊งคแ์ มน” (gank man)
แสดงพฤตกิ รรมเพ่อื ใหช้ ว่ ยโฆษณาและประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์เรื่องน้ัน