Page 29 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 29
การวเิ คราะห์และประเมนิ ปัจจัยในการบรหิ ารงานภาพยนตร์ 2-17
(episode) ตอ่ เนอื่ งกนั ไป แตล่ ะเรอ่ื งจะคละเคลา้ ไปดว้ ยหลายรสชาติ การแสดงมแี นวโนม้ ทเ่ี ปน็ การสงั่ สอน
ธรรมะ ความล้ลี ับ ความชัว่ ถกู ระบุเอาไว้อยา่ งชดั เจน และจบลงด้วยธรรมะย่อมชนะอธรรม ตัวเอกเป็นผู้
กล้าหาญดพี รอ้ มเขา้ ต่อสู้เหล่าร้ายท่ชี ่วั ช้าสารเลว ดงั นัน้ เรือ่ งจงึ จบลงด้วยความสมหวัง แนวการเดินของ
เรอ่ื งมกั จะแสดงเป็นสองลกั ษณะคอื การท�ำสงครามและกามารมณ์ โดยการท�ำสงครามทวี่ ่าน้กี ็คือ การท่ี
ตวั เอกมคี วามเกง่ กลา้ สามารถ เขา้ หำ�้ หน่ั ศตั รดู ว้ ยกำ� ลงั จนพา่ ยแพอ้ ยา่ งราบคาบมากเสยี ยงิ่ กวา่ การเอาชนะ
ดว้ ยสนั ตวิ ธิ ี สว่ นในเรอื่ งกามารมณน์ น้ั มกั ถกู แสดงออกโดยใหพ้ ระเอกเปน็ คนเจา้ ชมู้ ภี รรยาหลายคนในเวลา
เดยี วกัน ทา้ ยท่ีสดุ ความอิจฉารษิ ยาไดย้ ตุ ลิ งดว้ ยความเข้าใจอนั ดี ลักษณะโครงเร่อื งส่วนใหญ่ซำ้� ซากโดย
พระเอกต้องพ่ายแพ้แก่ศัตรูในตอนแรก ได้รับความช่วยเหลือจากผู้ใจบุญหรือผู้วิเศษจนเป็นคนท่ีมีความ
สามารถสงู ยงิ่ เพอื่ กลบั ไปตอ่ สกู้ บั ศตั รจู นไดร้ บั ชยั ชนะ ตวั แสดงหลกั ของละครทส่ี ำ� คญั มหี กประเภท ไดแ้ ก่
เทวดา เจ้านาย ผถู้ ือบวช คนใช้ที่เปน็ ตวั ตลก คนชนั้ กลางทอี่ ยใู่ นเมืองและชาวนาหรือกรรมกร โดยแต่ละ
ประเภทจะมีท้ังฝ่ายดีและฝ่ายชั่ว ลักษณะละครอันเป็นวัฒนธรรมการแสดงนี้จึงมีอิทธิพลต่อการแสดงใน
ภาพยนตร์ท่ีถูกสร้างขึ้นมาในภายหลังดว้ ย
ม.ล.บญุ เหลอื เทพยสวุ รรณ ไดว้ เิ คราะหว์ า่ ความไมเ่ หมอื นกนั ของการแสดงระหวา่ งของไทยกบั
ของตะวนั ตกกค็ อื การ “ตบี ท” นาฏศลิ ปข์ องไทยนน้ั ตวั ละครใชก้ ารรำ� เปน็ ตวั บอกความหมายและเรอ่ื งราว
อันมี ร�ำบท เป็นการร�ำตามบทร้องเพื่อแสดงความหมายให้เข้าใจในเนื้อเรื่องถ้าร�ำบทดี ก็เรียกว่า “ตีบท
แตก” นั่นหมายความว่าตัวละครมีความสามารถในการแสดงท่าทางจนเห็นได้ชัดเจนในบทที่ตนสวม
แสดงออกน้นั วฒั นธรรมการแสดงของนาฏศลิ ปน์ จ้ี ึงถกู สอดแทรกเข้าไปในบรบิ ท (context) การรับรขู้ อง
คนดู ทที่ ำ� ใหผ้ แู้ สดงภาพยนตรเ์ ขา้ ใจเอาวา่ การแสดงทด่ี ที เี่ ปน็ การ “ตบี ทแตก” นน้ั จะตอ้ งแสดงออกทา่ ทาง
มากๆ (over action) ซ่ึงถือวา่ เปน็ สิง่ ทไ่ี ม่ถูกต้องตามหลกั ศิลปภาพยนตร์
เอ เอล เบคเคอร์ (A.L. Becker) ซงึ่ สนใจการแสดงละครโบราณของพมา่ ไดช้ ว่ ยชใี้ หเ้ หน็ เคา้ โครง
ความคิดในการวิเคราะหค์ วามตอ่ เน่อื งระหว่างการแสดงทมี่ ากอ่ นหนังไทย และมีผลตกทอดสู่หนงั ไทยว่า
จารีตของการแสดงได้รับเอาผ้ชู มมาเป็นส่วนหน่งึ ของการแสดง ผแู้ สดงจะตอ้ งแสดงอย่างไรจึงจะเรยี กเรา้
ให้ผู้ชมมาสนใจตน ขณะเดียวกันการที่ละครเป็นผู้เคล่ือนเข้าหาผู้ชม ท�ำให้ผู้ชมที่ถือเสมือนหน่ึงเจ้าบ้าน
จะต้องปฏบิ ตั ติ อ่ ผูแ้ สดงเหมือนแขก ดังนนั้ ทำ� ให้ผูช้ มมิไดเ้ พ่งความสนใจไปยังการแสดงเพยี งอย่างเดยี ว
หากแต่ผู้ชมจะไปดูความพร้อมในสิ่งอื่นๆ ที่อยู่รอบๆ บริเวณนั้นเท่าเทียมกับการแสดง นอกจากน้ี
การแสดงจะถูกลดความด่ืมด�่ำในบุคลิกภาพของตัวละครลง โดยการสร้างความครื้นเครงเป็นกันเองด้วย
การหลอกลอ้ ของตวั ตลก จนทำ� ใหเ้ หน็ วา่ ผแู้ สดงกค็ อื ผแู้ สดง มใิ ชต่ วั ละคร ซงึ่ วฒั นธรรมทก่ี ลา่ วมานจี้ งึ เปน็
ท่ีมาของการท่ีผู้สร้างและผู้ดูภาพยนตร์ไทยยึดถือเอาดารายอดนิยมมากกว่าบทบาทที่เขาสวมแสดงและ
ตอ้ งมตี วั ตลกสอดแทรกดาราจงึ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ทสี่ ดุ และเปน็ ตวั กำ� หนดความเปน็ ไปไดใ้ นการสรา้ งหนงั แตล่ ะ
เร่ือง ผู้สร้างหนังไทยจึงไม่มีใครกล้าเส่ียงกับการเอาดาราใหม่เป็นตัวน�ำเท่าใดนัก ท่ีกล่าวมานี้คงทราบดี
วา่ นเ่ี ปน็ เหตผุ ลทางการคา้ ทผี่ สู้ รา้ งภาพยนตรต์ อ้ งอาศยั ความนยิ มของดารา แตด่ ารากม็ ยี คุ สมยั ของตวั เอง
ทงั้ น้ีตลาดจะเป็นตวั ก�ำหนด โดยวัดจากรายได้ทต่ี ่อเนอ่ื งมาจากรสนยิ มของผู้ดู
อารดา สุมิตร ได้กลา่ วถึงการแสดงละครว่า ไมจ่ ำ� เป็นต้องแสดงใหส้ มจรงิ ทกุ ประการ อาจแสดง
พอเป็นเครื่องหมายเท่าน้ันก็ได้ และคนดูก็สามารถสมมติตามไปเองได้ เช่น คันธนูท่ีใช้ก็ไม่จ�ำเป็นต้องมี