Page 21 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 21
การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ปจั จยั ในการบรหิ ารงานภาพยนตร์ 2-9
ชอ่ื เสยี งและเลน่ บทบาทไดเ้ หมาะสม ยอ่ มเปน็ ทชี่ น่ื ชอบของคนดู จนจดั วา่ เปน็ ผดู้ งึ จำ� นวนผเู้ ขา้ ดภู าพยนตร์
ท่สี �ำคญั อีกองคป์ ระกอบหน่ึง
อย่างไรก็ตาม ในปจั จุบนั การคดั เลือกดาราหรือผแู้ สดงนำ� รวมถึงผแู้ สดงประกอบ นอกเหนือจาก
จะพจิ ารณาจากความมชี ่อื เสยี งหรือความเป็นที่นิยมแล้ว ยงั ตอ้ งให้ความสำ� คญั กับความสามารถดา้ นการ
แสดงและความเหมาะสมกับบทภาพยนตร์เร่ืองน้ันๆ รวมถึงการมีเวลาเต็มท่ีกับการซ้อมและการถ่ายท�ำ
ภาพยนตร์ด้วย
5. โรงภาพยนตร์ ปจั จบุ นั โรงภาพยนตรม์ คี วามหมายมากกวา่ การเปน็ สถานทจี่ ดั ฉายภาพยนตร์
กล่าวคือนอกจากจะเป็นสถานท่ีจัดฉายภาพยนตร์แล้ว ยังเป็นแหล่งท�ำธุรกิจท่ีเก่ียวข้องโดยเฉพาะธุรกิจ
บันเทิง รวมถึงเป็นสถานท่ีที่แสดงถึงความทันสมัย อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในแง่การบริหารงาน
ภาพยนตร์ โรงภาพยนตรถ์ อื เปน็ สง่ิ สำ� คญั อยา่ งหนงึ่ ในการประกนั ความสำ� เรจ็ ของธรุ กจิ ภาพยนตร์ นน่ั คอื
หากสามารถน�ำภาพยนตร์เข้าฉายในโรงภาพยนตร์ท่ีเหมาะสม โดยได้รับการบรรจุเข้าในโปรแกรมที่ถูก
กาลเทศะของเครอื โรงภาพยนตร์ ยอ่ มทำ� ใหภ้ าพยนตรท์ ด่ี เี รอ่ื งนนั้ มโี อกาสไดร้ บั รายไดเ้ พมิ่ ขนึ้ ขณะเดยี วกนั
ยงั สามารถนำ� ไปสรา้ งความรสู้ กึ นา่ เชอื่ ถอื ในการโฆษณาและประชาสมั พนั ธ์ รวมทง้ั การจดั จำ� หนา่ ยเพอื่ ให้
เกดิ ผลดตี อ่ ภาพยนตรเ์ รอื่ งนนั้ อกี ดว้ ย ดงั นนั้ ผบู้ รหิ ารงานภาพยนตรจ์ งึ ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั การวเิ คราะห์
และพจิ ารณาเลอื กโรงภาพยนตร์ท่ีเหมาะสมด้วย
6. การโฆษณาภาพยนตร์ มคี ำ� กลา่ วซงึ่ นยิ มกลา่ วกนั ในวงการภาพยนตรไ์ ทยทว่ี า่ “การโฆษณา
ของภาพยนตรแ์ ตล่ ะเรอื่ งมผี ลตอ่ การคงอยหู่ รอื ลม่ สลายของธรุ กจิ ภาพยนตรแ์ ตล่ ะบรษิ ทั ผสู้ รา้ งนนั้ ๆ สำ� คญั
เทา่ ๆ กบั เนอื้ หาและคณุ ภาพของภาพยนตรเ์ ลยทเี ดยี ว ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากงบประมาณในการสรา้ งภาพยนตร์
ไทยเรอื่ งหนง่ึ ๆ อาจตอ้ งหมดไปกบั งบประมาณคา่ โฆษณาเสยี เกอื บครงึ่ หนง่ึ หรอื อาจจะมากกวา่ งบประมาณ
ในการสร้างเสยี ดว้ ยซ้ำ� ไป” และอาจสงู ขนึ้ ถา้ ภาพยนตรป์ ระสบความส�ำเรจ็ เป็นทีน่ ิยมของประชาชนขณะ
ฉายในโรงภาพยนตร์ช้ันหน่ึง การโฆษณาในภาพยนตร์ไทยมักมีความโน้มเอียงว่า หากไม่ใส่ข้อความ
บรรยายไว้มากมายหรือโออ้ วดเกินความจรงิ อยู่บา้ ง ก็ตอ้ งเป็นภาพท่ีเน้นสสี นั จนเกนิ ความจรงิ เสมอ ดว้ ย
เหตุน้ีจึงท�ำให้มีผลกระทบต่อ “คุณภาพ” ตามมาตรฐานสากลนิยมของภาพยนตร์ไทย จนเป็นปัญหา
หนกั อกของผสู้ รา้ ง ผกู้ ำ� กบั และผชู้ มภาพยนตรไ์ ทยตราบเทา่ ทกุ วนั นี้ ซงึ่ มสี าเหตหุ ลกั มาจากวงเงนิ ในการ
ลงทุนเพ่ือถ่ายท�ำภาพยนตร์ไทยเร่ืองหนึ่งๆ มีจ�ำนวนจ�ำกัด และต้องจัดสรรไว้เป็นส่วนโฆษณาอย่าง
มากมาย
การโฆษณาเปน็ เครอ่ื งมอื ทข่ี าดไมไ่ ดใ้ นทกุ ขนั้ ตอนของวงจรชวี ติ ของภาพยนตรใ์ นตลาด นบั ตง้ั แต่
ขั้นตอนการพัฒนาภาพยนตรใ์ นชว่ งระหว่างการสรา้ งสรรคง์ าน ฝา่ ยส่ือสารการตลาดก็จะตอ้ งเขา้ ไปชีแ้ นะ
หรือให้ความคิดเห็นในการผลิตภาพยนตร์ว่าควรจะเป็นรูปแบบใด ภาพยนตร์เรื่องนั้นจึงจะประสบความ
ส�ำเรจ็ ทางการตลาด เม่ือภาพยนตรผ์ า่ นขน้ั ตอนของการถ่ายทำ� พรอ้ มนำ� ออกฉาย เครอ่ื งมือในการสื่อสาร
การตลาดในรูปแบบของการโฆษณาจะช่วยจูงใจและให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาพยนตร์ เพื่อให้ผู้ชมได้ข้อมูล
สำ� หรบั นำ� ไปประกอบการตดั สนิ ใจวา่ จะชมภาพยนตรห์ รอื ไม่ อยา่ งไรกต็ าม การโฆษณาภาพยนตรจ์ ดั เปน็
สิ่งส�ำคัญและจ�ำเป็น เพราะปัจจัยท่ีท�ำให้ผู้ชมยอมเสียเวลาในแต่ละวันเข้าดู โดยการจูงใจผ่านส่ือโฆษณา
ประเภทต่างๆ การโฆษณาน้ีต้องมีการวางแผนอย่างรัดกุมเพื่อระดมการโหมโฆษณาอย่างหนักหน่วงใน