Page 19 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 19

การบรหิ ารงานโรงภาพยนตร์ 11-7
       ส�ำหรับทัศนะของนักเศรษฐศาสตร์การเมือง (political economy) โรงภาพยนตร์เป็นธุรกิจท่ี
นอกจากแขง่ ขนั นอ้ ยรายแลว้ ยงั เปน็ ธุรกจิ ทเ่ี รมิ่ ขยายตัวจากการเปน็ ผฉู้ ายภาพยนตรเ์ ขยบิ สู่การเปน็ ผูจ้ ดั
ซ้อื ภาพยนตร์ และผู้ผลติ ภาพยนตร์ กล่าวไดว้ ่าเปน็ การครอบง�ำธรุ กจิ ภาพยนตรอ์ ย่างครบวงจร แม้ดา้ น
หนง่ึ ส่งผลกำ� ไร แตอ่ ีกด้านหนึ่งก็ถูกมองวา่ ก�ำลังตัดผู้คา้ รายอืน่ เข้ามาแข่งขัน
       ยิ่งไปกว่านั้นนักวิชาการสายจักรวรรดินิยมสื่อ (media imperialism) ยังพิจารณาว่า ธุรกิจ
โรงภาพยนตรย์ งั ถกู ครอบงำ� ทงั้ ดา้ นซอฟตแ์ วร์ (software) หรอื ตวั ภาพยนตรท์ มี่ กั จะมาจากตะวนั ตก และ
ดา้ นฮาร์ดแวร์ (hardware) หรอื ระบบโรงภาพยนตร์ ทน่ี ง่ั เครือ่ งฉาย เครือ่ งเสยี ง ลว้ นแลว้ แต่นำ� เข้าจาก
ตา่ งประเทศ อกี ท้ังยงั ต้องเสียลิขสทิ ธิ์ให้กับบรษิ ัทตา่ งประเทศอกี ด้วย
       3.	 โรงภาพยนตร์คือแหล่งความบันเทิงราคาถูก ในทศั นะของนกั วชิ าการสำ� นกั มารก์ ซสิ มม์ องวา่
โรงภาพยนตร์ถือเป็นพ้ืนท่ีอันดีในการผลิตซ�้ำอุดมการณ์ต่างๆ ในสังคม โดยเฉพาะการบริโภคในสังคม
ทนุ นยิ มไดอ้ ยา่ งดี ทง้ั ผา่ นการรบั ชมภาพยนตรข์ องฮอลลวี ดู้ รวมถงึ การบรโิ ภคในโรงภาพยนตร์ ยงิ่ กวา่ นนั้
ยงั เปน็ พนื้ ทขี่ องวยั รนุ่ ทป่ี ลอดจากพนั ธนาการของพอ่ แมแ่ ละครอบครวั (ธนา วงศญ์ าณณาเวศ, 2551: 111)
       ในปจั จบุ นั การฉายภาพยนตรอ์ าจเปน็ เพยี งสว่ นประกอบหนงึ่ ของแหลง่ ความบนั เทงิ โรงภาพยนตร์
บางแหง่ สามารถขยายการทำ� หนา้ ทค่ี วามบนั เทงิ ไปสกู่ จิ กรรมอน่ื ๆ เชน่ โบวลง่ิ คาราโอเกะ การจดั ประชมุ
คอนเสิรต์ การจัดเล้ยี ง (บงกช เบญจาทกิ ลุ , 2546: 66)
       4. 	โรงภาพยนตรค์ อื แหลง่ ความทนั สมยั ของประเทศ ในทศั นะของนกั พฒั นาระบวุ า่ โรงภาพยนตร์
สามารถเป็นดัชนีวัดความทันสมัยของชาติ ดังหลักฐานท่ีปรากฏในยุคของความทันสมัยหลังแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเกิดการกระตุ้นให้มีโรงภาพยนตร์จ�ำนวนมากทั่วประเทศมากกว่า 700
โรง (ธนาทิพ ฉัตรภูมิ, 2547: 92) รวมถึงการสร้างโรงภาพยนตร์ขนาดใหญ่ เช่น ศาลาเฉลิมกรุง ให้มี
ความทันสมัยและแฝงนยั ของการแสดงความเจรญิ ของประเทศไทยอีกด้วย (ธนาทิพ ฉัตรภูม,ิ 2547: 38)
เมอ่ื พจิ ารณาใหล้ กึ ลงไปถงึ สถาปตั ยกรรมของโรงภาพยนตรก์ จ็ ะพบวา่ สถาปตั ยกรรมจะมลี กั ษณะทยี่ ง่ิ ใหญ่
แสดงถงึ การตอกย�้ำความเจริญกา้ วหนา้ ของไทยในยุคความทนั สมัยตามแบบตะวันตก
       ในท�ำนองเดียวกัน ฟิล์ม กาวัน (2556: 80-81) ยกตัวอย่างโรงภาพยนตร์ยุคแรกในประเทศ
ฟลิ ปิ ปนิ สไ์ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากอาณานคิ มของสหรฐั อเมรกิ า การออกแบบโรงภาพยนตรจ์ งึ มลี กั ษณะของศลิ ปะ
แบบอาร์ตเดคโค (art deco) ท่ีเน้นรูปทรงเรขาคณิต และแฝงไปด้วยความเช่ือมั่นในความก้าวหน้าของ
สังคมและเทคโนโลยี อีกทั้งยังแฝงนัยแห่งการหลุดพ้นจากการครอบง�ำของอาณานิคมสเปนเดิมสู่ความ
ทันสมัยของมหาอ�ำนาจโลกสหรัฐอเมริกา โรงภาพยนตร์ในลักษณะน้ีสร้างข้ึนจ�ำนวนมากเพ่ือรองรับ
อตุ สาหกรรมภาพยนตรฟ์ ลิ ปิ ปนิ สแ์ ละการพฒั นาประเทศตามแบบสงั คมสหรฐั อเมรกิ า บรรยากาศดงั กลา่ ว
ไมแ่ ตกตา่ งไปจากไทย
       5.	 โรงภาพยนตร์คือแหล่งรวบรวมศิลปะ ในกรณีน้ีนักวิชาการด้านศิลปะโดยเฉพาะสาขา
สถาปตั ยกรรมและภาพยนตรก์ ม็ องวา่ นอกจากตวั โรงภาพยนตรเ์ ปน็ สถาปตั ยกรรมในรปู แบบหนง่ึ ภายใน
โรงภาพยนตรย์ งั เปน็ พนื้ ทรี่ วบรวมผลงานศลิ ปะหรอื ตวั ภาพยนตร์ โดยเฉพาะโรงภาพยนตรท์ ฉี่ ายภาพยนตร์
ศิลปะ (ธนา วงศญ์ าณณาเวศ, 2551: 119)
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24