Page 24 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 24
11-12 การบริหารงานภาพยนตร์
เรื่องที่ 11.1.3
ประวัติและพัฒนาการของโรงภาพยนตร์ไทย
กอ่ นทจี่ ะนำ� เสนอใหเ้ หน็ ประวตั แิ ละพฒั นาการของโรงภาพยนตรไ์ ทยจะแสดงใหเ้ หน็ โรงภาพยนตร์
ตา่ งประเทศพอสงั เขป เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจทม่ี าและลกั ษณะของโรงภาพยนตรต์ า่ งประเทศทสี่ ง่ ผลตอ่ โรงภาพยนตร์
ไทย
มนฤดี ธาดาอำ� นวยชยั (2539) อธบิ ายใหเ้ หน็ ประวตั แิ ละพฒั นาการของโรงภาพยนตรใ์ นตา่ งประเทศ
พบว่า ในยุคแรกยังไม่มีโรงภาพยนตร์เป็นของตน ในปี ค.ศ. 1889 ผู้ช่วยของเอดิสันประดิษฐ์กล้องถ่าย
ภาพยนตร์และเครื่องฉายภาพยนตร์ได้ส�ำเร็จ โดยเคร่ืองฉายเรียกว่า คิเนโทสโคป (kinetoscope) เป็น
เครอื่ งฉายทค่ี นดไู ดท้ ลี ะคนในลกั ษณะถำ้� มอง ตอ่ มา ในชว่ งปี ค.ศ. 1895-1896 หลยุ ส์ ลมู แิ อร์ กลบั ประดษิ ฐ์
เครือ่ งฉายภาพยนตรท์ ่ีคนดูเป็นหมูค่ ณะขึ้น และฉายทโี่ รงละคร หอประชมุ แต่ยังไม่มีโรงภาพยนตร์
จนกระท่ัง ค.ศ. 1905 มีการจัดฉายภาพยนตร์ท่ีสหรัฐฯ และเรียกโรงฉายว่า โรงหนัง 5 เซนต์
(Nickelodeon) เพราะคา่ เขา้ ชมมรี าคาเพยี งนกิ เกล้ิ เดยี ว โรงภาพยนตรแ์ บบนเี้ ปน็ โรงขนาดเลก็ ทนี่ งั่ เพยี ง
200 ทีน่ ่งั ตอ่ มาในยุค 1913 ก็พฒั นาขึน้ ใหม้ ีขนาดใหญจ่ นเรยี กว่า มูวี พาเลซ (movie palace) มีสภาพ
หรูหรา ตกแตง่ อยา่ งสวยงาม ภายในโรงภาพยนตรม์ ีออรแ์ กน คอรัส นักรอ้ งโอเปร่า
ในช่วงทศวรรษท่ี 40-70 โรงภาพยนตร์สหรัฐฯ ก็ต้องปรับตัวจากการท่ีผู้ชมเร่ิมมีปริมาณลดลง
เนอ่ื งจากการเติบโตของโทรทศั น์ วิถชี วี ิตทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป คนเร่ิมซ้ือบ้านรถ การขยายตวั สู่ชานเมือง จึง
ทำ� ใหเ้ กดิ การปรบั การสรา้ งโรงภาพยนตรใ์ นลกั ษณะไดรฟ์ -อนิ (dirve-in) ในปี 1947 ซง่ึ เปน็ โรงภาพยนตร์
ท่ีผู้ชมตอ้ งขับรถไปดู โรงลักษณะน้ปี ระสบความส�ำเรจ็ อยา่ งมาก
ในชว่ งเวลานีเ้ อง ยังมกี ารปรับตัวให้นำ� เทคโนโลยใี หมเ่ ข้ามาดงึ ดดู ผูค้ น เช่น ปี ค.ศ. 1952 เกดิ
ระบบซเี นรามา (Cinerama) ซ่งึ เปน็ ระบบจอกวา้ ง ใชก้ ลอ้ งบันทึกภาพสามตวั อกี สามเดอื นถัดมาก็เกิด
ระบบ 3 มิติ (3D) มกี ารพัฒนาระบบซเี นมาสโคป (CinemaScope) ท�ำใหจ้ อโคง้ นอ้ ยกว่าระบบเดมิ และ
ในช่วงทศวรรษที่ 1960 เริ่มพัฒนาระบบโรงภาพยนตร์มัลติเพล็กซ์ (multiplex) ซ่ึงเป็นโรงที่มีจ�ำนวน
โรงจ�ำนวนมากในพ้ืนท่ีเดียวกัน มีระบบการฉายท่ีทันสมัย สะดวกสบาย โรงประเภทนี้เติบโตอย่างถึง
ขดี สดุ ในช่วงทศวรรษที่ 1980 (มนฤดี ธาดาอ�ำนวยชยั , 2539 และ Keane, 2007) ระบบทัง้ หมดเหล่าน้ี
กระตนุ้ ใหผ้ ชู้ มหวนกลบั มาชมภาพยนตร์ทโี่ รงภาพยนตร์
สำ� หรบั ประเทศไทย ภาพยนตรเ์ ปน็ สอ่ื ทนี่ ำ� เขา้ จากตา่ งประเทศนบั ตงั้ แตย่ คุ เรมิ่ ตน้ จากการสบื คน้
ของนักประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ เช่น โดม สุขวงศ์ (2533: 2) ระบุว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจา้ อยหู่ ัว เป็นชาวสยามพระองค์แรกทไ่ี ด้ทอดพระเนตรภาพยนตรเ์ ม่อื คร้งั เสด็จประพาสสิงคโปร์และชวา
เมอ่ื ปี พ.ศ. 2439 แตภ่ าพยนตรท์ ที่ อดพระเนตรมลี กั ษณะดไู ดท้ ลี ะคนดว้ ยกลอ้ งคเิ นโทสโคป (Kinetoscope)
สว่ นการฉายภาพยนตรใ์ นไทยเรมิ่ ตน้ ขนึ้ โดย เอส จี มารค์ อฟสกี้ (S.G. Marchovsky) เปน็ ผนู้ �ำ
ภาพยนตร์สู่สยามและฉายท่ีโรงภาพยนตร์หม่อมเจ้าอลังการ เมื่อปี พ.ศ. 2440 จึงอาจถือได้ว่า น่ีคือ