Page 25 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 25

การบรหิ ารงานโรงภาพยนตร์ 11-13
หลักกิโลแรกของการฉายภาพยนตร์และโรงภาพยนตร์แห่งแรกของไทย ในล�ำดับถัดไปจะน�ำเสนอให้เห็น
ถึงประวตั ิและพัฒนาการของโรงภาพยนตร์ไทยโดยละเอยี ดสามารถจดั แบง่ ได้อย่างนอ้ ย 4 ยคุ ดังนี้

1. 	ยุคแห่งการเร่ิมฉายภาพยนตร์ (รัชกาลทหี่ ้า พ.ศ. 2440 – 2490 สงครามโลกคร้งั ที่สอง)

       ดังที่กล่าวไปแล้วว่า โรงภาพยนตร์ท่ีอาจถือได้ว่าเป็นโรงภาพยนตร์แห่งแรกคือ โรงละครของ
หมอ่ มเจา้ อลงั การ ซง่ึ ฉายภาพยนตรท์ น่ี ำ� เขา้ โดยนาย เอส จี มารค์ อฟสกี้ (S.G. Marchovsky) ในปี พ.ศ.
2440 บริเวณโรงละครกค็ อื ละแวกสามยอด (ชลดิ า เอ้อื บำ� รงุ จิต, 2540: 89 และโดม สขุ วงศ์, 2555: 27)
ตอ่ มา ในปี พ.ศ. 2448 จงึ มกี ารจดั ตงั้ โรงหนงั ถาวรแหง่ แรก ณ บรเิ วณหลงั วดั ชนะสงคราม โดยนายวาตา
นาเบะ (Tomoyori Watanabe) เรียกว่า โรงหนังญีป่ ุ่น (ธนาทิพ ฉัตรภูมิ, 2547: 14 และโดม สุขวงศ์,
2556: 25) จนประสบความส�ำเร็จได้รับพระบรมราชานุญาตประดับตราแผ่นดินและเปล่ียนช่ือโรงเป็น
“โรงเจรญิ รปู ญ่ีปุ่นหลวง” แต่นิยมเรยี กวา่ “โรงหนังญป่ี นุ่ หลวง” (โดม สุขวงศ,์ 2556: 29)

       ธนาทิพ ฉตั รภมู ิ (2547: 20) ยงั ได้บันทกึ ไวว้ า่ คนไทยคนแรกท่ีคิดทำ� โรงหนังขน้ึ คนแรก กค็ อื
พระองคเ์ จา้ ทองแถมถวลั ย์วงศ์ กรมหม่นื สรรพสาตรศุภกจิ ซง่ึ ทรงถา่ ยหนงั และได้น�ำหนังส่วนพระองค์ที่
เกยี่ วกบั พระราชกรณยี กจิ ตา่ งๆ ของรชั กาลที่ 5 มาฉายเกบ็ คา่ ดู แตม่ กั จะฉายทว่ี ดั และงานวดั เบญจมบพติ ร
เทา่ นนั้ ไมม่ ีการตงั้ เป็นโรงหนงั ถาวร

       หลังจากนัน้ กเ็ รม่ิ เกิดโรงภาพยนตร์อกี มากมายโดยคนไทยในเขตกรุงเทพฯ เช่น บรษิ ัทรูปพยนต์
กรุงเทพ (นักวิชาการบางท่าน เช่น ชลิดา เอ้ือบ�ำรุงจิต ใช้ค�ำว่า บริษัทรูปยนต์กรุงเทพ) ด�ำเนินการ
โรงหนังกรุงเทพซีนมี าโตกราฟ หรอื โรงหนังวังเจ้าปรดี า เมื่อ พ.ศ. 2450 และมโี รงภาพยนตร์ในเครอื อกี
จำ� นวนมากโดยมักจะใชช้ อ่ื เมืองเป็นชื่อโรง ได้แก่ โรงหนังปนี ัง โรงหนงั สิงคโปร์ โรงชวา โรงฮ่องกง ยงั มี
บริษัทพยนต์พัฒนากร ในปี พ.ศ. 2456 ก็เริ่มเปิดโรงภาพยนตร์แข่งกันข้ึน และมักใช้ชื่อพัฒนาเป็นช่ือ
โรงภาพยนตร์ ไดแ้ ก่ โรงพฒั นากร โรงพฒั นาลยั โรงพฒั นารมย์ ทัง้ สองคา่ ยตา่ งประชันกันอยา่ งดุเดอื ด
ดว้ ยการลดแลกแจกแถม เพราะฉายหนังเรื่องเดยี วกนั ส่วนโรงภาพยนตร์ญี่ปนุ่ ได้ยุติลงในปี พ.ศ. 2459
ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. 2462 ท้ังสองบริษัทก็รวมตัวกันในนาม สยามภาพยนตร์ โดยมีนายเซียวซองอ๊วน
สบี ญุ เรอื ง เปน็ ผจู้ ดั การใหญแ่ ละกลายเปน็ ธรุ กจิ ผกู ขาดโรงภาพยนตรใ์ นกรงุ เทพฯ และตา่ งจงั หวดั (ชลดิ า
เอื้อบ�ำรงุ จติ , 2540: 91-92 และธนาทพิ ฉตั รภมู ,ิ 2547: 19) ท้งั น้ี ในยุคนีย้ งั เน้นภาพยนตร์เงยี บอยู่ การ
ฉายภาพยนตรจ์ งึ มีแตรวงบรรเลงเพ่ือลดความอึดอัด กระต้นุ อารมณ์ผูช้ ม นอกจากนนั้ แตรวงยงั ทำ� หนา้ ที่
เชญิ ชวนให้ผเู้ ขา้ ชมชมภาพยนตร์

       ในปี พ.ศ. 2465 พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัวก็โปรดฯ ใหเ้ จ้าพระยารามราฆพ จดั
ตงั้ บรษิ ทั คา้ ภาพยนตรเ์ รยี กชอ่ื วา่ สยามนริ ามยั และไดเ้ ชา่ โรงละครปราโมทยั ทส่ี ามยอดมาท�ำเปน็ โรงหนงั
ในเครือประมาณ 3-4 โรง การจัดต้ังบรษิ ัทสยามนริ ามยั น้นั ชลดิ า เออ้ื บำ� รงุ จติ (2540: 92) อธิบายวา่
เพือ่ เปา้ หมายการลดการผกู ขาดของคนกลุม่ เดียว ส่วนโดม สขุ วงศ์ (2556: 47) ระบวุ า่ เพ่ือใหค้ นไทยได้
ท�ำกิจการโรงหนังแขง่ ขนั กบั พ่อคา้ ชาวจนี ได้ โดยมพี ี่น้องสกลุ วสวุ ตั เขา้ มาเป็นผูบ้ รหิ ารกจิ การ อย่างไร
ก็ตามเม่ือเทียบกับโรงภาพยนตร์ของบริษัทสยามภาพยนตร์ในเชิงปริมาณก็ยังคงมีน้อยอยู่และในท่ีสุดก็
ต้องเลกิ กิจการมาสู่บรษิ ัทสยามภาพยนตร์
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30