Page 30 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 30
11-18 การบริหารงานภาพยนตร์
วถิ กี ารดำ� รงชวี ติ เปลยี่ น ผบู้ รหิ ารทเี่ หลอื มแี นวโนม้ ขายกจิ การ และทสี่ ำ� คญั คอื วกิ ฤตเศรษฐกจิ 2540 ทำ� ให้
ลกู ค้าลดลง (ทศพร โขมพตั ร, 2544: 121, 117-118, 206)
- โรงภาพยนตรช์ ว่ั คราว เปน็ ภาพยนตรท์ ฉ่ี ายเปน็ หนงั เรต่ ามพน้ื ทต่ี า่ งๆ มกั จะนยิ มในงาน
เฉลมิ ฉลอง งานศพ หรอื ตามพ้นื ท่ีตา่ งจงั หวดั กางจอและลอ้ มผา้ ปจั จุบันมจี �ำนวนนอ้ ยลง โดม สขุ วงศ์
(2556: 113) ชวี้ า่ โรงภาพยนตรแ์ บบนเ้ี รยี กวา่ โรงหนงั เร่ หรอื หนงั กลางแปลง ซงึ่ มมี านานนบั ตงั้ แตร่ ชั กาล
ที่ 5 แตม่ าเฟอ่ื งฟยู คุ หลงั สงครามโลกครงั้ ทส่ี อง เพราะการเจรญิ เตบิ โตของเศรษฐกจิ จงึ ทำ� ใหม้ กี ารโฆษณา
สินค้าโดยใชเ้ ทคนคิ การฉายภาพยนตรค์ วบคู่ไปด้วย
- โรงภาพยนตรไ์ ดรฟ์ อนิ (drive-in) ในตา่ งประเทศ เปน็ โรงภาพยนตรใ์ นลกั ษณะโรงขนาด
ใหญใ่ นพนื้ ทเ่ี ปดิ และใชส้ ำ� หรบั การขบั รถเพอ่ื เขา้ ไปชม โรงภาพยนตรใ์ นลกั ษณะนเ้ี ตบิ โตขน้ึ ในสหรฐั อเมรกิ า
ในชว่ งปลายทศวรรษท่ี 1940 อนั เปน็ ชว่ งทผ่ี คู้ นเรมิ่ มวี ถิ ชี วี ติ เปลย่ี นแปลงไป คอื อยบู่ นพนื้ ทชี่ านเมอื งและ
เรม่ิ ซอ้ื รถ นอกจากนนั้ การเตบิ โตของโทรทศั นท์ เ่ี ปน็ สอื่ ภายในบา้ น จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ โรงภาพยนตรท์ คี่ นมรี ถใน
ชานเมืองขบั รถไปชม (มนฤดี ธาดาอ�ำนวยชัย, 2539)
1.2 โรงภาพยนตร์เพื่อการเผยแพร่และส่งเสริมวัฒนธรรม เป็นโรงภาพยนตร์ท่มี ุง่ เนน้ การฉาย
ภาพยนตร์เพอื่ ส่งเสรมิ ศิลปวัฒนธรรม มักจะเป็นการฉายตามสถานท่ตี ่าง ๆ ทงั้ สถานทูต ได้แก่ เอยูเอ
สมาคมฝร่ังเศส บริติชเคาน์ซิล ส�ำนักข่าวสารญี่ปุ่น เป็นต้น สถาบันการศึกษา เช่น จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ การจัดฉายโดยหอภาพยนตร์แห่งชาติ และในบางคร้ังก็อาจฉาย
ในโรงภาพยนตร์ช้ันหน่ึง โดยจัดเป็นงานเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติ การจัดฉายจะเน้นการคัดเลือก
ภาพยนตร์ที่เป็นผลงานที่โดดเด่น มีคุณค่าเชิงศิลปะ กลุ่มเป้าหมายมักจะเป็นนักเรียน นิสิต นักศึกษา
ผสู้ นใจด้านศลิ ปวัฒนธรรม
2. โรงภาพยนตร์เดี่ยว เครือโรงภาพยนตร์ และโรงภาพยนตร์มัลติเพล็กซ์
โรงภาพยนตร์เด่ียวเป็นโรงภาพยนตร์ที่เจ้าของมีโรงภาพยนตร์เพียงหน่ึงเดียว ตรงกันข้ามกับ
โรงภาพยนตร์ในลักษณะเครือโรงภาพยนตร์ ผู้เป็นเจ้าของมักจะมีจ�ำนวนโรงภาพยนตร์มากกว่าหนึ่ง
นอกจากจะได้ก�ำไรจากการฉายภาพยนตร์แล้ว ที่ส�ำคัญคือการมีอ�ำนาจในการต่อรองภาพยนตร์ จัดวาง
โปรแกรมภาพยนตรต์ ามทต่ี นตอ้ งการไดง้ า่ ยขน้ึ มตี น้ ทนุ การโฆษณาประชาสมั พนั ธต์ ำ่� ลง มรี ายไดจ้ ากการ
โฆษณาสนิ คา้ และจดั การพนื้ ทไี่ ดม้ ากขน้ึ ในปจั จบุ นั การดำ� เนนิ การโรงภาพยนตรม์ กั จะเปน็ ระบบเครอื ขา่ ย
มากกว่า
อุษา ไวยเจริญ (2550: 32) ไดร้ ะบถุ งึ โรงภาพยนตรใ์ นเครอื ซ่ึงเน้นเครือโรงภาพยนตรช์ ั้นหนง่ึ มี
ประมาณ 8 เครอื ได้แก่ (1) เครือเมเจอรซ์ นี เี พลก็ ซก์ รุป๊ (2) เครืออีจีวเี อ็นเตอรเ์ ทนมนท์ (ซง่ึ ปัจจุบันรวม
กับเมเจอร)์ (3) เครอื เอสเอฟ (4) เครอื ยูเอม็ จี (5) เครอื เมเจอร์ฮอลลวิ ูด (6) เครอื เอเพ็กซ์ (7) เครือเอน็
เค (8) บรษิ ัทเซน็ จูร่ี เดอะมฟู วี่ จำ� กดั ท้ังน้ี ในปจั จุบัน (พ.ศ. 2557) บริษทั เครือเมเจอร์ซีนีเพลก็ ซ์กรปุ๊
มีส่วนแบง่ การตลาดมากทสี่ ดุ และควบรวมกจิ การกบั เครอื อจี ีวี ทำ� ให้มีขนาดใหญ่มากถงึ 76 สาขา สว่ น
เครอื เอ็นเค กล็ ้มหายไป จงึ ทำ� ใหเ้ หลือเครือโรงภาพยนตร์ประมาณ 6 เครอื