Page 31 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 31

การบริหารงานโรงภาพยนตร์ 11-19
       อนึ่ง การอธิบายของอุษาจะเน้นเฉพาะโรงภาพยนตร์ชั้นหน่ึง งานของทศพร โขมพัตร (2544:
116, 121, 209) ก็ได้ระบุให้เห็นว่า ผู้ประกอบการโรงภาพยนตร์ชั้นสองก็มีลักษณะการท�ำงานเป็นเครือ
ไมต่ า่ งกนั ซงึ่ มาจากการดำ� เนนิ ธรุ กจิ โรงภาพยนตรใ์ นอดตี ในหลายพนื้ ที่ อกี ทงั้ ประกอบธรุ กจิ เปน็ สายหนงั
เครือโรงภาพยนตร์นี้เป็นของบริษัทนครหลวงโปรโมชั่น มีโรงภาพยนตร์ในช่วงต้นทศวรรษที่ 40 คือ
กรงุ สยาม ปารีส งามวงศว์ าน นครหลวงรามา เปน็ ต้น นอกจากน้นั ยังท�ำธรุ กจิ โรงภาพยนตร์ชัน้ หน่ึง คอื
เอน็ เค สง่ ผลใหม้ ฐี านพลงั ทเ่ี ขม้ แขง็ นำ� ภาพยนตรเ์ ขา้ โรงชนั้ หนงึ่ แลว้ กน็ ำ� เขา้ โรงภาพยนตรช์ น้ั สองของตน
อย่างไรก็ดีโรงภาพยนตร์ช้ันสองอ่ืนๆ จะไม่ด�ำเนินการในลักษณะน้ี ท�ำให้โรงภาพยนตร์ช้ันสองหลายโรง
ตกต�่ำหนั ไปฉายภาพยนตรโ์ ป๊เปลอื ยแทน
       ส่วนโรงภาพยนตร์มัลติเพล็กซ์ จะหมายถึงโรงภาพยนตร์ท่ีฉายภาพยนตร์หลายโรงในพื้นที่
เดยี วกัน ซ่งึ มกั จะเป็นเครือโรงภาพยนตร์เดียวกัน
       โรงภาพยนตร์มัลติเพล็กซ์น้ีถือก�ำเนิดในสหรัฐฯ ในช่วงทศวรรษที่ 1960 แต่เติบโตขีดสุดใน
ทศวรรษท่ี 1980 และก้าวเขา้ มาในเอเชยี ในทศวรรษท่ี 1990 โดยสงั คมไทยเริ่มตน้ ในชว่ ง ปี พ.ศ. 2537
ณ โรงภาพยนตรอ์ จี วี ี (มนฤดี ธาดาอำ� นวยชยั , 2539: 55-56) นกั วชิ าการบางทา่ นเรยี กวา่ โรงภาพยนตร์
ประเภทรวมหลายโรง (ขนิษฐา ส่งสกุลชัย, 2554) แต่ไม่นิยมใช้ มักเป็นโรงภาพยนตร์ท่ีด้านหนึ่งก็
คลา้ ยคลึงกบั เครอื โรงภาพยนตรค์ อื รวมกลมุ่ กนั แต่สว่ นทีแ่ ตกตา่ งกนั คอื การรวมกลุม่ กันน้นั มกั จะอยใู่ น
พน้ื ทเี่ ดยี วกนั แตม่ ปี รมิ าณโรงภาพยนตรห์ ลายโรงภาพยนตร์ อาจมขี นาดเลก็ และใหญไ่ มเ่ ทา่ กนั เปา้ หมาย
คอื การฉายภาพยนตรไ์ ดห้ ลายเรอ่ื งและดงึ ดดู ผชู้ ม ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ โรงภาพยนตรด์ งั กลา่ วยงั มสี งิ่ อำ� นวยความ
สะดวก ท้ังระบบแสง เสียง ภาพท่ีคมชัด ระบบการจองต๋ัว มีห้องฉายน้อยห้องมักจะเป็นระบบห้องฉาย
เดยี ว (one room projector) คมุ ดว้ ยคนคนเดียว ท�ำใหป้ ระหยดั พนกั งาน ในปจั จุบนั กเ็ รม่ิ พฒั นาสู่การ
ฉายระบบดิจิทัล (มนฤดี ธาดาอำ� นวยชยั , 2539: 11-12 และชญานิน ธนสุขถาวร, 2556: 159)

3. 	โรงภาพยนตร์กระแสนิยมและโรงภาพยนตร์กระแสทางเลือก

       โรงภาพยนตร์แบบแรก คือ โรงภาพยนตร์ที่เน้นการฉายภาพยนตร์ตามกระแสนิยม มักเป็น
ภาพยนตรเ์ ชิงธรุ กิจ หรือภาพยนตรแ์ นวตลาด ซึง่ มกั จะเปน็ ภาพยนตรจ์ ากฮอลลวี ู้ดเปน็ หลกั

       สว่ นโรงภาพยนตรก์ ระแสทางเลอื ก เปน็ โรงภาพยนตรท์ พ่ี ยายามฉกี ตวั ฉายภาพยนตรท์ เ่ี นน้ กระแส
ทางเลอื ก โดยเนน้ ภาพยนตรท์ ไี่ มไ่ ดท้ ำ� เงนิ หรอื หนงั ตลาด แตเ่ นน้ ภาพยนตรข์ นาดเลก็ เนน้ ศลิ ปะวฒั นธรรม
ภาพยนตร์ท่ีสร้างชื่อเสียงในเวทีการประกวดภาพยนตร์ ตัวอย่างโรงภาพยนตร์ในลักษณะน้ี ได้แก่ ลิโด
เฮา้ ส์ อารซ์ เี อ (House RCA) โรงภาพยนตรเ์ หลา่ นจี้ ะเนน้ กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะกลมุ่ (niches) (พนั ธธ์ุ มั ม์
ทองสงั ข์, 2551: 18)
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36