Page 36 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 36
11-24 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
ของประชากรด้วย หากพ้ืนท่ีบริเวณโรงภาพยนตร์มีประชากรมากก็จ�ำเป็นต้องจัดจ�ำนวนจอให้พอดีกับ
ความตอ้ งการ แตห่ ากพน้ื ทไี่ กลประชากรน้อยกจ็ ะจำ� กดั จ�ำนวนจอลง
ส�ำหรับกรณีของโรงภาพยนตร์ขนาดเล็ก นภสะ แย้มอุทัย (2555: 32) ผู้จัดการโรงภาพยนตร์
เฮ้าส์ อารซ์ ีเอ เสนอว่า ตอ้ งมีการจดั โปรแกรมให้เหมาะสม ในกรณขี องโรงภาพยนตรเ์ ฮา้ ส์ อารซ์ ีเอ จะมี
ภาพยนตรเ์ ข้าประมาณ 3 เรื่องตอ่ เดือน ไดว้ างโปรแกรมไวค้ ือ หนงั ใหมจ่ ะอยใู่ นโรงทีห่ นงึ่ ส่วนอีกโรงก็
จะสลบั หนงั เกา่ กนั ไป ซงึ่ จะเปน็ หนงั ทย่ี งั ไมห่ มดสญั ญากบั ทางคา่ ย บางครงั้ กจ็ ะจดั เทศกาล เรยี กวา่ “หนงั
นอกเมน”ู คอื น�ำหนงั เก่ามาจัดเป็นแพ็ค นอกจากน้นั ในสามเรอื่ งนนั้ หนง่ึ เรอ่ื งควรเปน็ หนงั ทแี่ ขง็ แรง
ภายหลังจากการวิเคราะห์ตัวภาพยนตร์แล้วก็มาถึงขั้นตอนการวางโปรแกรมล่วงหน้า หรือการ
คาดการณ์ที่จะน�ำภาพยนตร์มาลงในช่วงวันและเวลาใด ภาพยนตร์บางเรื่องแม้จะเป็นเรื่องใหม่แต่อาจไม่
เหมาะกับการฉายในเวลาปัจจุบันเพราะเป็นเร่ืองความรักอาจจะลงโปรแกรมในวันวาเลนไทน์ หรือ
ภาพยนตรบ์ างเรอื่ งอาจเปน็ ภาพยนตรด์ รามาแตอ่ าจลงโปรแกรมในชว่ งใกลก้ ารประกวดภาพยนตร์ (วสิ ตู ร
พูลวรลักษณ์ และทศั นีย์ จันทร, 2534)
ในปจั จบุ ัน (พ.ศ. 2557) ภาพยนตร์จะเข้าโปรแกรมวนั พฤหสั เปน็ วันแรก และจะเป็นช่วงทำ� เงนิ
ใน 4 วันแรก หากไม่ท�ำเงินผู้บริหารโปรแกรมก็มักจะถอดภาพยนตร์เร่ืองดังกล่าวออกจากโปรแกรม
อยา่ งไรกด็ มี ขี อ้ ควรคำ� นงึ คอื ภาพยนตรบ์ างเรอ่ื งอาจไมท่ ำ� เงนิ ในพน้ื ทโ่ี รงภาพยนตรแ์ หง่ หนง่ึ แตอ่ าจทำ� เงนิ
ในพ้ืนท่อี ีกแห่งหนึง่ กเ็ ปน็ ได้ นั่นก็เน่อื งจากกล่มุ เป้าหมายต่างกนั การถอดโปรแกรมจึงอาจต่างกัน ดังนัน้
การมีโรงภาพยนตร์เป็นเครือและมลั ตเิ พล็กซ์ก็จะได้เปรียบกวา่ คือ สามารถน�ำภาพยนตร์ที่อาจไม่ทำ� เงนิ
ลดรอบฉาย หรอื ปรบั เปลยี่ นเปน็ โรงเลก็ ในทางกลบั กนั หากทำ� เงนิ มากกส็ ามารถขยายหรอื เพมิ่ โรงฉายได้
ในอดตี การรบั ภาพยนตร์จะรบั ฟิล์มภาพยนตรจ์ ากห้องแลบ็ เช่น กันตนา สยามพัฒนา และซีเน
คัลเลอรแ์ ลบ็ หรอื รบั จากคา่ ยหนงั หรอื เจา้ ของหนงั กจ็ ะเปน็ ผจู้ ดั ส่งฟิล์มให้ หลงั จากการเปล่ียนระบบฟิล์ม
สู่ระบบดิจิทัล บริษัทเจ้าของภาพยนตร์จะจัดส่ง ดิจิทัล มูฟว่ี สโตรเรจ (Digital Movie Storage) ซึ่ง
บรรจุไฟล์ภาพยนตรแ์ ละมตี ัวถอดรหสั ให้กบั โรงภาพยนตร์ในชว่ งเวลาท่กี ำ� หนดไว้ (ชญานนิ ธนสขุ ถาวร,
2556: 169-170) ให้กับโรงภาพยนตร์ และในอนาคตมีการต้ังเป้าหมายว่า การแพร่กระจายอาจใช้ระบบ
การสง่ ผา่ นสญั ญาณดาวเทยี มทำ� ใหป้ ระหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยมากขน้ึ แตท่ งั้ หมดนนั้ โรงภาพยนตรจ์ ะตอ้ งปรบั ระบบ
เป็นดจิ ทิ ัล
อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่พบในปัจจุบัน (พ.ศ. 2557) ก็คือ โรงภาพยนตร์ยังมิได้ปรับเป็นระบบ
ดจิ ทิ ลั ทง้ั หมด จงึ ทำ� ใหม้ กี ารใชท้ งั้ สองระบบทำ� ใหเ้ ปลอื งงบประมาณของผสู้ รา้ งภาพยนตร์ (วสิ ตู ร พลู วรลกั ษณ,์
2555: 39) และในส่วนของโรงภาพยนตร์การใช้ระบบดิจิทัลก็ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ในราคาแพง ซ่ึงหาก
ภาพยนตรเ์ รอื่ งดงั กลา่ วไมท่ ำ� กำ� ไรกจ็ ะทำ� ใหข้ าดทนุ (มนฤดี ธาดาอำ� นวยชยั , 2557) อกี ทงั้ โรงภาพยนตร์
หลายโรงกไ็ มส่ ามารถปรับเปน็ ระบบดจิ ทิ ลั ไดเ้ พราะระบบมีราคาสูง