Page 40 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 40
11-28 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
ในบรรดาเครอื่ งมอื ทงั้ หมด บงกช เสนอวา่ เครอ่ื งมอื หลกั กค็ อื การโฆษณา ประชาสมั พนั ธ์ และ
การใชส้ ื่อบคุ คล คือ พนกั งานของโรงภาพยนตร์ เพราะเปน็ บคุ คลท่ีตดิ ตอ่ กับลูกค้าโดยตรง
ลำ� ดบั สดุ ทา้ ย คอื การประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การ ซงึ่ มกั จะวดั จากรายไดต้ วั่ รวมถงึ การสมั ภาษณ์
ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รว่ มชมภาพยนตร์
3. การบริหารพื้นที่โรงภาพยนตร์
งานวิจัยหลายช้ินแสดงให้เห็นถึงการตัดสินใจชมภาพยนตร์มาจากพ้ืนที่หรือตัวโรงภาพยนตร์
(นิวัฒน์ มีประเสริฐ, 2547; มณีรัตน์ ลวสุต, 2549 และอรุณรัตน์ สรุ ะเสน, 2550) เหตนุ ี้ จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งให้
ความสนใจต่อการบริหารพื้นท่ีโรงภาพยนตร์สามารถจ�ำแนกออกเป็นได้ 3 พื้นท่ี คือ การบริหารตัวโรง
ภาพยนตร์ การบรหิ ารพ้ืนทภ่ี ายในอาคารโรงภาพยนตร์ และการบริหารพืน้ ท่ีภายนอกโรงภาพยนตร์ ราย
ละเอยี ดดงั นี้
1) ตัวโรงภาพยนตร์ นอกเหนือจากการปรับปรุงตัวโรงภาพยนตร์ให้มีความทันสมัย ทั้งภาพ
เสยี ง การจดั เกา้ อ้ี การตกแตง่ โรงภาพยนตร์ เพอื่ ดงึ ดดู ผชู้ มแลว้ ยงั เกย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารโฆษณาภายใน
จอภาพยนตร์ ซึ่งมักจะฉายกอ่ นชมภาพยนตร์ บรษิ ัทท่ีมโี รงภาพยนตร์ในเครือจงึ มักจะตงั้ บรษิ ัทยอ่ ยเพือ่
ดแู ลการโฆษณาในโรงภาพยนตรด์ ้วย
การบรหิ ารตวั โรงภาพยนตรท์ คี่ วรคำ� นงึ ถงึ อยา่ งยง่ิ กค็ อื การจดั สรา้ งโรงภาพยนตรจ์ ำ� เปน็ ตอ้ งเปน็
ไปตามกฎหมาย ไดแ้ ก่ พระราชบัญญตั คิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 (ฉบับท่ี 3) โดยมีกฎกระทรวงวา่ ด้วย
การอนุญาตให้ใช้อาคารเพ่ือประกอบกิจการโรงมหรสพประเภทและระบบความปลอดภัยของโรงมหรสพ
และอตั ราคา่ ธรรมเนยี มสำ� หรบั การอนญุ าตใหใ้ ชอ้ าคารเพอ่ื ประกอบกจิ การโรงมหรสพในปี พ.ศ. 2550 เปน็
กฎหมายทอ่ี ธิบายขยายความ พรบ. ดงั กลา่ ว
กฎกระทรวงฉบับน้ี ก�ำหนดประเภทของโรงภาพยนตร์ การขอใบอนุญาต แก่คณะกรรมการ
พิจารณาการประกอบกิจการโรงมหรสพ (เขตกรุงเทพฯ และจังหวัดอื่นๆ) ซึ่งต้องส่งผ่านกรมโยธาธิการ
และผงั เมอื ง หรอื สำ� นกั งานโยธาธกิ ารและผงั เมอื งจงั หวดั คา่ ธรรมเนยี มใบละ 500 บาท กฎหมายยงั กำ� หนด
หลกั เกณฑค์ วามปลอดภยั ทนี่ งั่ ระยะหา่ ง ขนาดและจำ� นวนประตทู างออก อปุ กรณด์ บั เพลงิ ระบบปอ้ งกนั
อคั คีภัย และการอพยพบคุ คลในกรณเี กดิ เพลงิ ไหม้ (รายละเอียดโปรดดูหวั ขอ้ ปจั จัยด้านกฎหมาย เรื่อง
ท่ี 11.3.1)
ในบรรดากฎเกณฑต์ ่างๆ ปญั หาตวั โรงภาพยนตร์ในดา้ นความปลอดภยั เปน็ ปญั หาที่นักวิชาการ
ใหค้ วามสนใจ ดงั เช่น งานวจิ ยั ของ กญั ญาภา อร่ามรกั ษ์ (2548) ไดศ้ ึกษามาตรฐานความปลอดภยั ของ
โรงภาพยนตรท์ ง้ั ภายนอกและภายในโรง การปอ้ งกนั อคั คภี ยั ความมนั่ คงแขง็ แรง และอนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม
กบั กลุ่มผ้เู ชี่ยวชาญและกล่มุ ผใู้ ชโ้ รงภาพยนตรก์ ็พบวา่ มีมาตรฐานหลายอันท่ีไม่เหมาะสม เชน่ ระยะทาง
หนไี ฟ ระยะความกว้างระหวา่ งแถวทีน่ ่ัง ต�ำแหนง่ การตดิ ตั้งเครื่องดบั เพลิงภายในโรงและหอ้ งฉาย ระยะ
หา่ งของที่พักรวมขยะกับอาหาร สว่ นทีเ่ หมาะสมไดแ้ ก่ ต�ำแหน่งทางออก/ทางหนีไฟ ต�ำแหนง่ ความกวา้ ง
และความสูงของประตู แสงไฟ แนวทางดังกล่าวเป็นแนวทางท่ีดีส�ำหรับการปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับ
โรงภาพยนตร์ และการจดั สร้างภาพยนตร์ในอนาคต