Page 28 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 28
11-16 การบริหารงานภาพยนตร์
ไฮเทค ท�ำให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ชมได้มากขึ้นกว่าเดิม โรงภาพยนตร์ท่ีพัฒนาระบบน้ีก็คือ
โรงภาพยนตร์ในเครืออีจีวี (EGV) ก่อต้ังขึ้นในปี พ.ศ. 2537 ณ ห้างฟิวเจอร์ปาร์คบางแค เครือ
โรงภาพยนตรแ์ หง่ นเี้ ปน็ บรษิ ทั ของกลมุ่ ตระกลู พลู วรลกั ษณ์ ซง่ึ ทำ� ธรุ กจิ ภาพยนตรแ์ หง่ แรกทยี่ า่ นฝง่ั ธนบรุ ี
และไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งลน้ หลาม ทำ� ใหเ้ กดิ การพฒั นาการสรา้ งโรงภาพยนตรใ์ นแบบเดยี วกนั ทว่ั ประเทศ
ต่อจากนั้น ในกลุ่มตระกูลเดียวกันนี้เอง ยังพัฒนาบริษัทเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ สร้างเมืองหนัง ยังผลให้
โรงภาพยนตร์แบบเกา่ เรมิ่ ท่ีจะต้องปรับตวั (โดม สุขวงศ,์ 2556: 187)
ในปัจจุบัน โรงภาพยนตรท์ ี่มเี ครือขา่ ยมากทส่ี ดุ ก็คือ โรงภาพยนตรเ์ มเจอร์ ซนี ีเพล็กซ์ ซึง่ ทำ� การ
ควบรวมกจิ การกบั อจี วี ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70 และรองลงมากค็ อื โรงภาพยนตรใ์ นเครอื เอสเอฟ (SF) (นวิ ฒั น์
มปี ระเสรฐิ , 2547: บทคดั ย่อ) อันทำ� ให้ตลาดโรงภาพยนตร์มแี นวโนม้ การผูกขาดหรือผ้คู า้ น้อยราย
หากโรงภาพยนตรใ์ ดไมส่ ามารถปรบั ระบบใหท้ นั สมยั ไดก้ จ็ ะกา้ วไปสโู่ รงภาพยนตรช์ นั้ สอง ซงึ่ ฉาย
หนังในลักษณะหนังควบหรือภาพยนตร์โป๊เปลือย โรงภาพยนตร์บางแห่งก็ใช้เทคนิคการปรับตัวใหม่เพ่ือ
เข้ากับรสนิยมของผูช้ ม เชน่ การปรับไปสู่โรงภาพยนตร์ที่เนน้ ภาพยนตร์ศิลปะเพือ่ เปน็ ภาพยนตรก์ ระแส
ทางเลอื ก อาทิ การถือก�ำเนดิ ของเฮา้ ส์ อารซ์ ีเอ (House RCA) และการปรับโรงภาพยนตร์ลโิ ด ใหฉ้ าย
ภาพยนตรศ์ ิลปะในปี 2543 เปน็ ตน้
ในช่วงท้ายทศวรรษท่ี 2550 เร่ิมเกิดปรากฏการณ์ใหมใ่ นการฉายภาพยนตร์ออนไลน์ ทัง้ สำ� หรับ
กลมุ่ ผชู้ มเฉพาะกลมุ่ และกลมุ่ ผชู้ มทวั่ ไปท�ำใหไ้ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งพง่ึ พงิ ระบบโรงภาพยนตรอ์ กี ตอ่ ไป อกี ทงั้ ดว้ ย
โรงภาพยนตร์มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงส�ำหรับผู้ผลิตภาพยนตร์อิสระ จึงท�ำให้เกิดการขายบัตรล่วงหน้าแก่
ผชู้ ม ส่วนหนึง่ เปน็ การการนั ตรี ายไดข้ องภาพยนตร์
การพัฒนาของโรงภาพยนตร์ในช่วงปลายทศวรรษที่ 2550 ก็เริ่มเกิดปัญหาใหม่ หลังจากการ
พฒั นาของเทคโนโลยภี าพยนตรใ์ นระบบดจิ ทิ ลั ทำ� ใหต้ อ้ งมกี ารปรบั เปลยี่ นระบบการฉาย จากเดมิ ทเ่ี ครอื่ ง
ฉายด้วยฟิล์มต้องปรับเคร่ืองฉายเป็นระบบดิจิทัล ส�ำหรับโรงภาพยนตร์ขนาดใหญ่ไม่ส่งผลเท่าไรนัก แต่
สำ� หรบั โรงภาพยนตรข์ นาดเลก็ รายยอ่ ย กอ็ าจตอ้ งลม้ หายตายจากเพราะไมส่ ามารถหางบประมาณมาซอ้ื
เคร่ืองฉายใหม่และปรับปรุงโรงได้ ดังกรณีการปิดโรงภาพยนตร์ชั้นสองหลายราย (อรปวีณ์ วงศ์วชิรา,
2556)
ในทางกลับกนั ระบบดิจทิ ัลท�ำให้เกดิ โครงการฉายหนังแบบใหม่ เรยี กวา่ “โรงหนังชมุ ชน” โดย
บรษิ ทั กนั ตนา ในชว่ งปลายปี พ.ศ. 2556 (กองบรรณาธกิ าร, 2556c: 19) โรงหนงั แบบนจ้ี ดั ฉายภาพยนตร์
ด้วยการจดั ส่งภาพยนตรผ์ ่านดาวเทยี ม ซงึ่ จะทำ� ให้ทุน่ งบประมาณการฉายได้มาก