Page 26 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 26
11-14 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
ทวา่ ในชว่ งหลงั บรษิ ทั สยามภาพยนตรก์ ป็ ระสบปญั หาขาดทนุ จากเศรษฐกจิ ตกตำ่� เหลอื เพยี งใน
ส่วนของพยนตร์พัฒนากร จึงเปลี่ยนช่ือเป็นบริษัทภาพยนตร์พัฒนากร (ชลิดา เอ้ือบ�ำรุงจิต, 2540: 91)
ในทส่ี ดุ กต็ อ้ งขายกจิ การใหก้ บั บรษิ ทั สหศนี มี า ในปี พ.ศ. 2475 ซง่ึ เปน็ บรษิ ทั ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้
เจา้ อย่หู วั ได้จดั ต้งั ขนึ้ เพอื่ ดำ� เนนิ ธุรกจิ คา้ ภาพยนตร์ (โดม สุขวงศ,์ 2556: 77) และได้สร้างโรงภาพยนตร์
ข้ึน จงึ ทำ� ให้บรษิ ทั มขี นาดใหญจ่ วบจนสน้ิ สงครามโลกคร้งั ทส่ี อง
ตอ่ มา บรษิ ทั สหศนี มี ากไ็ ดพ้ ฒั นาโรงภาพยนตรต์ า่ งๆ จนทนั สมยั และไดร้ บั พระราชทานนามใหม่
ใหเ้ ขา้ กบั ศาลาเฉลมิ กรงุ อาทิ โรงหนงั พฒั นารมณ์ เปลย่ี นชอ่ื เปน็ ศาลาเฉลมิ นคร โรงหนงั สงิ คโปร์ เปลยี่ น
เปน็ ศาลาเฉลมิ บรุ ี โรงหนงั ชวาเปล่ยี นเปน็ ศาลาเฉลิมเวียง เป็นต้น (ธนาทิพ ฉตั รภมู ิ, 2547: 21-22, 26)
ในชว่ งหลงั การเปลยี่ นแปลงการปกครองบรษิ ทั สหศนิ มี ากก็ ลายเปน็ บรษิ ทั ทท่ี รงอทิ ธพิ ลมาก (โดม สขุ วงศ,์
2556: 77)
ในชว่ งปี พ.ศ. 2475 อันเปน็ ปที ีก่ รงุ รตั นโกสนิ ทร์มีอายคุ รบ 150 ปี พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้า
เจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระราชประสงค์ให้สร้างโรงภาพยนตร์ให้ทันสมัยและเป็นถาวรวัตถุเพื่อการเฉลิมฉลอง
พระนคร นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2473 แต่เสร็จไม่ทันการณ์ กล่าวคือแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2476 และได้รับ
พระราชทานนามวา่ ศาลาเฉลิมกรุง ถอื ได้วา่ เป็นโรงภาพยนตรท์ ท่ี ันสมยั ทส่ี ดุ แหง่ หนึ่งในเอเชียขณะนน้ั
(ชลิดา เอ้ือบำ� รุงจติ , 2540: 93)
ธนาทิพ ฉัตรภูมิ (2547) อธิบายว่า การเติบโตของโรงภาพยนตร์ในยุคแรกน้ีจะมุ่งพ้ืนที่ท่ีเป็น
ตลาด พ้นื ที่ทีค่ นอยอู่ าศัยจำ� นวนมากและเป็นเขตยา่ นตา่ งๆ
อยา่ งไรกต็ าม โรงภาพยนตรใ์ นชว่ งสงครามโลกครง้ั ทส่ี องปรากฏวา่ ซบเซาอยา่ งมาก เหตผุ ลจาก
การขาดแคลนหนงั การตอ้ งฉายภาพยนตรโ์ ฆษณาชวนเชอ่ื โรงภาพยนตรใ์ นชว่ งนจี้ งึ ตอ้ งปรบั เปลย่ี นเปน็
โรงละครส�ำหรับการฉายละครเวทแี ทน
2. ยุคทองของโรงภาพยนตร์ (หลังทศวรรษท่ี 2490-ต้นทศวรรษที่ 2520)
ภายหลังสงครามโลกครั้งท่ีสอง ภาพยนตร์เริ่มกลับมาได้รับความนิยมมากขึ้น เหตุผลคือ
ประชาชนต้องการผ่อนคลายหลังสงคราม อีกทั้งบริษัทจัดจ�ำหน่ายจากฮอลลีวู้ดเริ่มเข้ามาต้ังส�ำนักงานใน
ประเทศ (ชลดิ า เออ้ื บำ� รุงจิต, 2540: 93) และมีผูส้ รา้ งรายใหม่เตบิ โตข้ึน
ยุคน้ียังเป็นยุคแห่งการพัฒนาประเทศภายหลังสงครามโลกคร้ังท่ีสอง ธนาทิพ ฉัตรภูมิ (2547)
ตงั้ ข้อสังเกตที่น่าสนใจว่า โรงภาพยนตร์เป็นช่องทางการสื่อสารอันดีที่สือ่ สารกับผคู้ นแลว้ ยงั แสดงให้เห็น
ถึงการพัฒนาความทันสมยั ของประเทศไดอ้ ีกดว้ ยท�ำให้เกดิ การสรา้ งโรงภาพยนตร์ในประเทศจ�ำนวนมาก
โรงภาพยนตรจ์ ึงเริม่ กระจายตัวในต่างจงั หวดั
ในช่วงเวลาดังกล่าวโรงภาพยนตร์ได้ฟื้นตัวขึ้นมาและปรับสภาพจากโรงละครกลับมาเป็น
โรงภาพยนตร์เชน่ เดมิ รวมถึงการพัฒนาระบบโรงภาพยนตรใ์ หม้ ีขนาดใหญ่ ตน่ื ตาตน่ื ใจ เพือ่ ดึงดูดให้คน
มาชมภาพยนตรใ์ ห้มากยิ่งขน้ึ เช่น สามมิติ สเตรโิ อ ซีเนมาสโคป และซเี นรามา ด้านหน่ึงกเ็ พอ่ื ต่อสู้กับ
โทรทศั นท์ เ่ี พง่ิ กา้ วเขา้ มาในประเทศไทย (โดม สขุ วงศ,์ 2556: 125) อยา่ งไรกด็ ี นบั ตง้ั แตห่ ลงั สงครามโลก
ครั้งทีส่ องจนถึง พ.ศ. 2520 โรงภาพยนตร์กระจายตัวในกรงุ เทพฯ 150 โรง และตา่ งจงั หวดั ถึง 700 โรง