Page 27 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 27

การบรหิ ารงานโรงภาพยนตร์ 11-15
สง่ ผลให้มคี วามต้องการภาพยนตร์เพื่อฉายจำ� นวนมาก จนอาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ ยุคทองของโรงภาพยนตร์
และภาพยนตร์ (ชลดิ า เออ้ื บำ� รงุ จติ . 2540: 93 และโดม สขุ วงศ,์ 2556: 125)

       ธนาทิพย์ ฉัตรภูมิ (2547) ยังระบุว่า การสร้างโรงภาพยนตร์ก็มีความแตกต่างไปตามการ
เปลยี่ นแปลงของการเตบิ โตของยคุ สมยั และเนน้ พนื้ ทกี่ ารคา้ เปน็ สำ� คญั ในชว่ งทศวรรษท่ี 2500 การเตบิ โต
ของเมอื งอยภู่ ายในพระนครทำ� ใหโ้ รงภาพยนตรจ์ ะกระจกุ ตวั ในเขตพระนคร ไดแ้ ก่ ศาลาเฉลมิ ไทย วงั บรู พา
ควนี ส์ คงิ ส์ แกรนด์ หลงั จากน้นั ในทศวรรษท่ี 2510 ก็เริม่ ขยายไปสู่เขตอื่น คอื สยามสแควร์ ทำ� ให้เกดิ
โรงภาพยนตร์ในเครือเอเพก็ ซ์ ได้แก่ สยาม ลโิ ด สกาลา่ ในช่วงถดั มาตน้ ทศวรรษที่ 2520 โรงภาพยนตร์
ก็กระจายตัวในละแวกใกลเ้ คียงของสยามแสควร์ ได้แก่ ยมราช ประตูนำ้�  ราชเทวี อนุสาวรยี ์

       ลกั ษณะโรงภาพยนตรใ์ นยคุ แรก และยคุ ทสี่ องนจ้ี ะมลี กั ษณะแบบโรงเดยี่ ว (stand alone) นอกจาก
น้ันด้วยผลก�ำไรของโรงภาพยนตร์ท�ำให้เกิดการเติบโตของธุรกิจผู้ผลิตโรงภาพยนตร์ในลักษณะเครือข่าย
เปน็ จ�ำนวนมาก เช่น ตระกูลพลู วรลักษณ์ (เครืออีจีวี และเมเจอร์) ตระกลู ตนั สจั จา (เครือเอเพก็ ซ์)

3. 	ยุคตกต�่ำ (กลางทศวรรษที่ 2520-2530)

       ในช่วงต้นทศวรรษท่ี 2520 ภาพยนตร์ไทยยังคงเฟื่องฟู เหตุผลส�ำคัญก็คือ การต้ังก�ำแพงภาษี
ภาพยนตร์ต่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2520 ท�ำให้มีการผลิตภาพยนตร์ไทยจ�ำนวนมาก และส่งผลให้
โรงภาพยนตรก์ เ็ ตบิ โตดว้ ย โดม สขุ วงศ์ (2556: 163) ชว้ี า่ ในชว่ งนี้ ทำ� ใหเ้ กดิ บรษิ ทั ภาพยนตรท์ คี่ รบวงจร
กลา่ วคอื เปน็ ผสู้ รา้ ง ผจู้ ดั จำ� หนา่ ย และผจู้ ดั ฉายหรอื โรงภาพยนตร์ ไดแ้ ก่ บรษิ ทั นวิ ไฟวส์ ตาร์ จำ� กดั บรษิ ทั
สหมงคลฟลิ ม์ จำ� กดั บรษิ ทั พนู ทรพั ยฟ์ ลิ ม์ จำ� กดั และบรษิ ทั เอเพก็ ซ์ จำ� กดั ผสู้ รา้ งรายเลก็ กจ็ ะเรม่ิ ไปสงั กดั
บริษัทขนาดใหญ่

       ทว่า ในช่วงกลางทศวรรษที่ 2520 เป็นต้นมา ยุคน้ีถือได้ว่า นอกจากเป็นยุคท่ีภาพยนตร์ไทย
ตกต่�ำแล้ว สืบเนื่องจากการกลับมาของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด ยังเป็นยุคท่ีโรงภาพยนตร์ตกต�่ำ  ส่วนส�ำคัญ
มาจากเหตุผลของการเติบโตของเทคโนโลยีวีดิทัศน์ การพัฒนาของโทรทัศน์สี ท�ำให้ผู้ชมไม่ได้เข้าชม
ภาพยนตรใ์ นโรงภาพยนตร์ต่อไป โรงภาพยนตรจ์ ึงเร่ิมลดปริมาณลง (โดม สขุ วงศ,์ 2556: 173)

       ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ โรงภาพยนตรใ์ นชว่ งเวลาดงั กลา่ วนกี้ ป็ รบั ตวั จากการเปน็ โรงภาพยนตรข์ นาดใหญต่ งั้
เดย่ี ว (stand alone) ก็พฒั นาไปสโู่ รงภาพยนตร์ขนาดเล็กในลกั ษณะมินเิ ธียเตอร์ (mini theatre) อยูใ่ น
ห้างสรรพสินค้าต่างๆ อย่างไรก็ตามในช่วงถัดมาด้วยปัญหาของตัวโรงภาพยนตร์ท่ีมีขนาดเล็ก ระบบ
คณุ ภาพทต่ี ำ่� ลง และปญั หาดา้ นกฎหมาย พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ อาคาร พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั ภยนั ตราย
อันเกิดแตโ่ รงมหรสพ (ธนาทิพ ฉตั รภมู ,ิ 2547: 31) ทำ� ให้เกดิ การปรับตัวของโรงภาพยนตรอ์ ีกครัง้ ในยุค
ถดั มา

4. 	ยุคฟื้นฟูและอนาคต (ปลายทศวรรษท่ี 2530 เป็นตน้ มา)

       ในชว่ งปลายทศวรรษที่ 2530 เกดิ การพฒั นาโรงภาพยนตรแ์ บบใหมท่ เ่ี รยี กวา่ โรงภาพยนตรร์ ะบบ
มลั ติเพลก็ ซ์ (multiplex) ซง่ึ มลี กั ษณะแตกตา่ งไปจากยุคท่สี องและสาม คือ โรงภาพยนตร์มลี กั ษณะเป็น
เครือฉายภาพยนตร์ในที่เดียวกันหลายเรื่อง ยิ่งไปกว่าน้ันยังมีการพัฒนาระบบเสียง ภาพ แบบทันสมัย
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32