Page 20 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 20

11-8 การบริหารงานภาพยนตร์
       การมองโรงภาพยนตรใ์ นแงม่ มุ ดงั กลา่ วทำ� ใหเ้ กดิ การฉายภาพยนตรเ์ พอื่ ศลิ ปะและการจดั กจิ กรรม

การเผยแพร่วัฒนธรรมผ่านภาพยนตร์ ซึ่งจะเน้นแง่มุมเชิงศิลปะมากกว่าความบันเทิง และก่อให้เกิด
ภาพยนตร์สโมสรหรือชมรมภาพยนตร์ (film society) โดยจะสามารถฉายได้ทั้งที่บ้าน สถานศึกษา ที่
ทำ� งาน และเนน้ การฉายภาพยนตรเ์ กา่ มคี ณุ คา่ ทง้ั นี้ กอ่ นฉายและหลงั ฉายกจ็ ะมกี ารพดู คยุ แนะนำ� เสวนา
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซ่ึงท�ำให้เกิดการยกระดับสติปัญญาผู้ชมได้อีกด้วย การจัดฉายภาพยนตร์ใน
ลกั ษณะดงั กลา่ วเกิดข้ึนคร้ังแรกทปี่ ระเทศฝร่งั เศส ปี พ.ศ. 2464

       ส่วนในประเทศไทยเริ่มต้นโดยสมาคมภาพยนตร์สมัครเล่นแห่งสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าฯ เมือ่ ปี พ.ศ. 2473 มีการจัดฉาย ณ พระต�ำหนกั สวนจิตรลดา เดือนละครง้ั
ในปจั จบุ นั (พ.ศ. 2557) มีชมรมทเ่ี น้นการเผยแพร่วัฒนธรรมของสถานทตู ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ชมรมภาพยนตร์
ของสถานทูตอเมริกนั เรม่ิ ตน้ ปี พ.ศ. 2515 ชมรมภาพยนตร์ของสถานทูตอังกฤษ ชมรมภาพยนตร์ของ
สถานทูตเยอรมัน ชมรมภาพยนตร์ของสถานทูตฝรั่งเศส (ซึ่งพบว่าเร่ิมต้นต้ังแต่สมัยรัชกาลท่ี 6) ชมรม
สถานทูตญ่ีปุ่น นอกจากนั้น ยังมีการจัดตั้งชมรมอื่นๆ ท่ีไม่ใช่สถานทูต ได้แก่ ภาพยนตร์สโมสรของ
หอภาพยนตร์ เรมิ่ ต้นตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2527 ดวงกมลฟิล์มเฮาส์ โดยสนธยา ทรัพย์เย็น และคณะ จัดฉาย
ภาพยนตรส์ ำ� หรบั ผสู้ นใจภาพยนตรเ์ รม่ิ ทรี่ า้ นหนงั สอื ดวงกมลใน พ.ศ. 2530 ปจั จบุ นั ยา้ ยไปทหี่ อสมดุ กลาง
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ การจดั ฉายภาพยนตรข์ องอาจารยท์ รงยศ แววหงษ์ ทมี่ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรและ
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ เปน็ ตน้ (จดหมายขา่ วหอภาพยนตร์, 2554: 7-9)

       6.	 โรงภาพยนตร์คือวัดหรือโบสถ์หรือแหล่งสอนศาสนา หมายถึง โรงภาพยนตร์จะเป็นพ้ืนที่
แหง่ การบม่ เพาะกลอ่ มเกลาผชู้ มทเี่ ขา้ ไปในโรงภาพยนตรเ์ สมอื นหนง่ึ เดนิ เขา้ ไปสโู่ บสถ์ เหตนุ ้ี จงึ อาจเทยี บ
โรงภาพยนตร์ได้กับวัดหรือโบสถ์หรือแหล่งสอนศาสนาหรือมองอีกด้านหน่ึงภาพยนตร์ก็อาจเทียบได้กับ
ศาสนาในอกี รูปแบบหน่งึ

       นักวิชาการด้านภาพยนตร์ ดัดลี แอนดรู (Dudley Andrew อ้างถึงใน Hark, 2002) ระบุว่า
โรงภาพยนตรเ์ ทยี บได้กับโบสถข์ องศิลปะแขนงที่เจด็ (temples of the seven arts) ซ่ึงความหมายของ
ศลิ ปะแขนงทเ่ี จด็ นนั่ กค็ อื ภาพยนตร์ เหตนุ น้ี กั ออกแบบโรงภาพยนตรจ์ งึ มแี นวโนม้ ออกแบบโรงภาพยนตร์
ให้คล้ายคลึงกบั โบสถ์

       โจเซฟ อี ดสี เปนซา (Joseph E. Dispenza อ้างถึงใน Hark, 2002: 10) ยงั ขยายความหมาย
ของโบสถ์อีกว่า นอกจากความเหมอื นในแงโ่ ครงสรา้ งแลว้ สถานทข่ี ายตวั๋ กเ็ ปรียบได้กับแท่นพิธีล้างบาป
และเป็นส่วนท่ีแสดงถึงการยอมรับภาพยนตร์หรือศาสนา การก้าวเข้าไปในโรงภาพยนตร์ก็ไม่ต่างไปจาก
การกา้ วเขา้ ไปในโบสถห์ รอื การกา้ วเขา้ ไปสพู่ ธิ กี รรมของศาสนาเพอื่ ปรบั เปลย่ี นจติ ใจผคู้ น ในทน่ี กี้ ารรบั ชม
ภาพยนตร์หลายเร่ืองก็สามารถกล่อมเกลาผู้คนได้ และเม่ือออกจากโรงภาพยนตร์ก็เสมือนหนึ่งการก้าวสู่
โลกปจั จุบนั

       กล่าวโดยสรุป จะเห็นได้ว่าความหมายของโรงภาพยนตร์มีความแตกต่างหลากหลายข้ึนอยู่กับ
การนยิ ามของผ้ทู เ่ี กี่ยวข้องทำ� ใหก้ ารมองและให้ความสำ� คญั ต่อภาพยนตรต์ า่ งกนั ไป
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25