Page 44 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 44
3-32 วิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีการพ ิมพ์แ ละบรรจุภัณฑ์
แนวต อบก ิจกรรม 3.1.4 การเรยี กชอ่ื ในระบบ IUPAC
3-methylpentane
สารประกอบอนิ ทรยี ์ 2-decene
CH3 CCHH2 CCHH23 CH3 n-hexanol
CH3 CH CH (CH2)6 CH3
CH3 (CH2)5 OH 1-methylcyclopentane
เร่อื งท ี่ 3.1.5
ปฏิกริ ิยาของส ารประกอบอ นิ ทรีย์
ปฏิกิริยาเคมีเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นระดับโมเลกุลของสาร โดยมีกระบวนการแตกพันธะ (bond
cleavage) และการสร้างพันธะใหม่ (bond formation) เกิดขึ้น การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะขึ้นกับลักษณะของ
สารตั้งต ้น (starting material) และต ัวทำ�ปฏิกิริยา (reactant) หรือรีเอเจนต์ (reagent) สารตั้งต้นเป็นสารห ลักที่จะ
เกิดก ารเปลี่ยนแปลง โดยท ั่วไปจ ะเกิดการเปลี่ยนแปลงท ี่หมู่ฟังก์ชัน ตัวทำ�ปฏิกิริยาอ าจเป็นไปได้ทั้งอ นุมูลที่มีประจุ
หรือเป็นกล าง สารเคมี สารช ีวโมเลกุล ความร ้อน กระแสไฟฟ้าห รือค ลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
1. การแตกพ นั ธะและการส ร้างพ ันธะ
โมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นโมเลกุลของสารอีกชนิดหนึ่งได้ต้องผ่าน
กระบวนการแ ตกพ ันธะแ ละส ร้างพ ันธะ กระบวนการดังก ล่าวจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนย ้ายข องอิเล็กตรอนในพ ันธะ
ทำ�ให้เกิดก ารแตกพ ันธะ ซึ่งส ามารถเกิดการแ ตกพันธะได้เป็น 2 แบบ คือก ารแตกพันธะแ บบเสมอภ าค (homolytic
cleavage) ให้อนุภาคที่ไม่มีประจุกลายเป็นอนุมูลอิสระหรือเรดิคัลอิสระ (free radical) และการแตกพันธะแบบ
ไม่เสมอภาค (heterolytic cleavage) ให้อ นุภาคที่มีประจุซึ่งเรียกว ่า ไอออน (ion)
1.1 การแตกพันธะแบบเสมอภาค เป็นการแตกพันธะที่อิเล็กตรอนทั้งสองของพันธะโคเวเลนต์แยกไปอยู่ที่
อะตอมห รือห มูอ่ ะตอมท ีท่ ำ�ใหเ้กิดพ ันธะข ้างล ะ 1 อิเล็กตรอน แต่ละข ้างท ีแ่ ตกอ อกไปน ีเ้รียกว ่าอ นุมูลอ ิสระท ีไ่ม่มปี ระจุ
ตวั อยา่ งเชน่ สาร A-B แตกพ นั ธะไดอ้ นมุ ลู อ สิ ระ A และอ นมุ ลู อ สิ ระ B การแ สดงก ารแ ตกพ นั ธะแ บบน ใี้ นว ชิ าเคมอี นิ ทรยี ์
ใช้ลูกศ รโค้งท ี่มีหัวเพียงครึ่งเดียว ( หรือ ) เพื่อแ สดงทิศทางก ารเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนเพียง 1 อิเล็กตรอน