Page 46 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 46
3-34 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก ารพิมพ์แ ละบ รรจุภัณฑ์
หรือไอออนท ี่เกิดข ึ้นจะทำ�ปฏิกิริยาต ่อ โดยเกิดพ ันธะก ับห มู่ที่มีประจุต รงข้ามได้สารใหม่เกิด
การแตกพันธะแบบไม่เสมอภาคจะมีตัวกลางระหว่างปฏิกิริยาเป็นแคตไอออนและแอนไอออนก่อนที่จ ะเกิด
พันธะเป็นส ารใหม่ ถ้าเป็นการแ ตกพ ันธะร ะหว่างค าร์บอนก ับอ ะตอมห รือห มู่อ ะตอมอ ื่น จะได้ต ัวกลางเป็นค าร์โบแ คต
ไอออน (carbocation) และคาร์โบแอนไอออน (carboanion) หรือค าร์แ บนไอออน (carbanion) คาร์โบแคตไอออน
เป็นคาร์บอนที่ม ีประจุบวกเนื่องจากขาดอิเล็กตรอน คาร์โบแอนไอออนเป็นคาร์บอนที่มีประจุลบเนื่องจากหมู่อะตอม
ที่อุดมด้วยอิเล็กตรอนมาดึงหมู่อะตอมที่ติดกับคาร์บอนออกไป ปฏิกิริยาที่เกิดผ่านแคตไอออนและแอนไอออนนี้
เรียกว่า ปฏิกิริยาแบบไอออนิก (ionic reaction)
ตัวอย่างของคาร์โบแ คตไอออนแ ละค าร์โบแ อนไอออน ได้แก่
2. ตัวท �ำ ปฏิกิริยา
ตัวทำ�ปฏิกิริยาอาจเป็นอนุมูลหรือโมเลกุลของสารประกอบอ ินทรีย์หรือสารอนินทรีย์ที่เข้าไปทำ�ปฏิกิริยากับ
สารตั้งต้น สามารถจ ำ�แนกตามส มบัติในการทำ�ปฏิกิริยาที่แ ตกต่างก ันเป็นอิเล็กโทรไฟล์ (electrophile) นิวค ลีโอไฟด์
(nucleophile) และอ นุมูล (radical)
2.1 อิเล็กโทรไฟล์ เป็นอนุมูลที่มีประจุบวก หรือโมเลกุลที่เป็นกลางพร้อมที่จะรับอิเล็กตรอนเพื่อสร้างเป็น
พอ(AิเันลlCธ็กะlโ3ใท)หรแม2ไลฟ.่ไ2ะดล ไ ้ ์ททเนชเี่เิว่นทปคเ็นโลนปโโีียมรอมตเไลเฟอทกนลทุล์ (เรทHปะี่เ็นป+ค )อ็นลไนอกฮุมไลโรดูลาดงรท์เไ(ี่มนTดีปียi้แCมรกะlไ4่จอก)ุลอรเปบอด็นนหล ตริว(ืHอ้อนโิส3มOตเล+่างก)ๆุลคทาเชรี่เ่นป์โบ็นโแบกครลตอาไงนอไซอทึ่งอรมนฟีอลิเลูอ็กอตไรรดอ น์ ซ(BคิลFู่ทเว3ี่ส)อาอรม์ไะาอลรอูมถอสิเนนรีย้า(งAมพคgัน+ลธ)อสะไก่วรดันบ์
อนุมูลอื่นที่มีประจุบวกหรือโมเลกุลที่ขาดอิเล็กตรอนได้ ตัวอย่างของนิวคลีโอไฟล์ที่มีประจุลบได้แก่ ไฮดรอกไซด์
ไอออน (OH—) คลอไรด์ไอออน (Cl—) ไซยาไนด์ไอออน (CN— ) และค าร์ไอออน ส่วนนิวคลีโอไฟล์ท ี่เป็นกล าง
ม ักเป็นโม2เ.ล3ก ุลอนท ี่มมุ ีอลู ิเเลป็ก็นตอรนอุภนาคคู่อทยี่ไู่ทมี่เ่มฮีปเทรอะจโรุ มอ ีอะติเลอ็กมตไรดอ้ แนกเด่ นี่ยํ้าวท ี่เกิดจากกแาอรลแกตอกฮพอันลธ์ ะแ บบเสมอแภอามคโเมชเ่นนแียฮ(:โNลเHจ3น)
อนุมูล (X.) ไฮโดรเจนอ นุมูล (H.) และค าร์บอนอนุมูล (-C)