Page 45 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 45
เคมีอินทรีย์ 3-33
อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นอาจเกิดปฏิกิริยาต่อไปโดยเหนี่ยวนำ�ให้โมเลกุลอื่นแตกพันธะแบบเสมอภาคต่อไปอีก
ได้ ดังนี้
นอกจากน ี้อ นุมูลอิสระที่เกิดขึ้นอาจส ร้างพันธะกับอนุมูลอ ิสระอื่น เช่น อนุมูลอ ิสระ Y จับกับอนุมูลอิสระ A
ได้สาร A-Y ดังนี้
การแตกพันธะแบบเสมอภาค จะมีตัวกลางระหว่างปฏิกิริยา (reaction intermediate) เป็นอนุมูลอิสระ
ถ้าอนุมูลอิสระเป็นค าร์บอน เรียกว ่า อนุมูลคาร์บอน (carbon radical) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นด้วยก ารแ ตกพันธะแ บบนี้
เรียกว่า ปฏิกิริยาแ บบอนุมูลอ ิสระ (free radical reaction)
1.2 การแตกพ ันธะแบบไ มเ่ สมอภ าค เป็นการแตกพ ันธะท ี่อิเล็กตรอนทั้งสองข องพ ันธะโคเวเลนต์ย ้ายไปอยู่
ที่อะตอมหรือหมู่อะตอมข้างใดข้างหนึ่งเพียงข้างเดียว โดยที่อะตอมหรือหมู่อะตอมอีกข้างหนึ่งของพันธะเดิมไม่ได้
รับอิเล็กตรอนเลย หมู่ท ี่ได้รับอิเล็กตรอนคู่จะมีประจุเป็นลบ เรียกว่า แอนไอออน (anion) หมู่ท ี่เสียอ ิเล็กตรอนจ ะมี
ประจุเป็นบ วก เรียกว่า แคตไอออน (cation) การแ สดงก ารแ ตกพันธะแ บบนี้ใช้ลูกศรโค้งท ี่มีห ัวเต็ม ( หรือ )
เพื่อแ สดงท ิศทางการเคลื่อนย ้ายอ ิเล็กตรอน 2 อิเล็กตรอน ตัวอย่างเช่น
หรือ
ไอออนท ี่เกิดขึ้นอาจเหนี่ยวน ำ�ให้โมเลกุลอ ื่นเกิดการแตกพันธะแ บบไม่เสมอภ าคได้อ ีก ดังนี้