Page 14 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 14

15-4 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ

                          บทนำ�

       สาระ​สำ�คัญ​ของ​หน่วย​ที่ 15 องค์การ​ที่​ไม่ใช่​ของ​รัฐ1 แตก​ต่าง​จาก​เนื้อหา​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​โดย​ทั่วไป​
ที่ม​ ีน​ ัย​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ระหว่าง​รัฐบาล (Intergovernmental Organization: IGO) ทั้ง​ที่​เป็น​ระดับ​โลก
ที่​สำ�คัญ​ได้แก่ สหประชาชาติ องค์การ​การ​ค้า​โลก ธนาคารโลก กองทุน​การ​เงิน​ระหว่าง​ประเทศ และ​ระดับ​ภูมิภาค
ที่​สำ�คัญ​ได้แก่ องค์การ​สนธิ​สัญญา​ป้องกัน​แอตแลนติก​เหนือ องค์การ​สนธิ​สัญญา​วอร์ซอ สหภาพ​ยุโรป สมาคม​
ประชาชาติ​เอเชีย​ตะวัน​ออก​เฉียง​ใต้ (อาเซียน) กลุ่ม​ความ​ร่วม​มือ​เอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) องค์การ​นานา​รัฐ​อเมริกา
สันนิบาต​อาหรับ และอ​ งค์การ​เอกภาพแ​ อฟริกา ก่อใ​ห้เ​กิด​การ​ศึกษาอ​ ย่างก​ ว้างข​ วาง องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศท​ ี่ม​ ีน​ ัยท​ ี่​
มีค​ วาม​สัมพันธ์​กับ​รัฐม​ า​จาก​ความส​ นใจ​ที่ม​ ี​ต่อ​รัฐ​จากก​ ฎหมายร​ ะหว่าง​ประเทศ ที่ใ​ห้ค​ วาม​สำ�คัญ​กับ​รัฐ​ที่เ​ป็นต​ ัว​แสดง​
ทางก​ ฎหมาย​ที่ช​ อบ​ธรรม​นับต​ ั้งแต่​คริสต์​ศตวรรษท​ ี่ 16 จากย​ ุโรปท​ ี่​แพร่ข​ ยาย​ไปท​ ั่ว​โลก รัฐบาลเ​ป็นต​ ัวแทนข​ องร​ ัฐท​ ี่​ม​ี
นักการ​ทูต​เป็น​เครื่อง​มือ​ทางการเ​มือง และท​ หารเ​ป็น​เครื่องม​ ือด​ ้านค​ วาม​มั่นคง ความส​ ัมพันธ์​ระหว่างร​ ัฐบาล​ทั้ง​ระดับ​
ทวิภาคี (bilateral) และพ​ หุภาคี (multilateral) นำ�​ไปส​ ู่​การจ​ ัด​ตั้ง​องค์การ​ระหว่างป​ ระเทศร​ ะหว่างร​ ัฐบาล​ที่​ก่อ​ตั้งจ​ าก​
สนธิส​ ัญญาจ​ ากต​ ัวแทนข​ องร​ ัฐเ​พื่อผ​ ูกพันร​ ัฐใ​ห้เ​ป็นส​ มาชิก ก่อใ​หเ้​กิดก​ ารจ​ ัดต​ ั้งอ​ งค์การร​ ะหว่าง​ประเทศ​จำ�นวนม​ ากน​ ับ​
ตั้งแต่​ภายห​ ลัง​สงครามโลก​ครั้ง​ที่ส​ องจ​ นถึง ค.ศ. 1976 มี​จำ�นวนม​ ากกว่า 300 องค์การ องค์การร​ ะหว่าง​ประเทศเ​ป็น
​ตัว​แสดง​และ​บุคคล​ตาม​กฎหมาย​ระหว่าง​ประเทศ2 ตัว​แสดง​หรือ​องค์การ​ที่​ไม่ใช่​ของ​รัฐ​นับ​เป็นก​ลุ่ม พรรคการเมือง
เอกชน สมาคม องค์การพ​ ัฒนาเ​อกชน บรรษัทข​ ้าม​ชาติ หรือ​อื่นใ​ด ที่​ปราศจากก​ าร​ควบคุม​ของ​รัฐ3 นับเ​ป็นต​ ัว​แสดงท​ ี่​
สำ�คัญ​ของ​การ​ระหว่าง​ประเทศ และ​มี​แนว​โน้ม​เพิ่ม​จำ�นวน​ทุก​ปี​เพราะ​นับ​ตั้งแต่​ภาย​หลัง​สงครามโลก​ครั้ง​ที่​สอง​จนถึง
ค.ศ.1976 มี​จำ�นวน​มากกว่า 3,000 แห่ง4 และ​มี​บทบาทท​ ี่​สำ�คัญ5 ทั้งด​ ้านก​ ารเมือง ที่ส​ ำ�คัญค​ ือก​ ารเ​คลื่อนไหวท​ างการ​
เมือง​เพื่อต​ ่อ​ต้าน​รัฐ ด้านเ​ศรษฐกิจ ทั้งก​ าร​พัฒนา การ​ค้า การ​เงิน การล​ งทุน และค​ วามช​ ่วย​เหลือ และด​ ้าน​สังคม ทั้ง​
เรื่อง​แรงงาน มนุษยธรรม สิทธิ​มนุษย​ชน และ​สิ่ง​แวดล้อม

       อนึ่งเนื้อหาของหน่วยที่ 15 องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายระหว่างประเทศและ
องคก์ ารระหวา่ งประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ปรบั ปรงุ จากหนว่ ยที่ 15 องคก์ ารทีไ่ มใ่ ชข่ องรฐั บาล จากเอกสารการสอนชดุ วชิ า
กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ ของรองศาสตราจารย์ ดร.สมพงษ์ ชูมาก ที่เป็นชุดวิชาเดิม
ส่วนหนึ่งกับหน่วยที่ 14 องค์การที่ไม่ใช่รัฐกับกระแสโลกาภิวัตน์ ชุดวิชากระแสโลกศึกษาจากระดับบัณฑิตศึกษา
ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ธโสธร ตู้ทองคำ� ที่เป็นส่วนใหญ่

         1 ปรับปรุงจ​ าก สมพ​ งษ์ ชู​มาก “องค์การ​ที่​ไม่ใช่ข​ อง​รัฐบาล” ใน เอกสาร​การส​ อนช​ ุดว​ ิชา​กฎหมาย​ระหว่างป​ ระเทศ​และอ​ งค์การร​ ะหว่าง​
ประเทศ หน่วยท​ ี่ 14 นนทบุรี สาขาว​ ิชาน​ ิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย​สุโขทัยธ​ รร​ มาธิ​ราช 2554 หน้า 1182-1183	

         2 Pierre Gerbet. “Rise and Development of International Organization: A Synthesis”, in The Concept of International
Organization. Georges Abi-Saab (ed.). Paris: UNESCO, 1981, p. 27.

         3 Joseph S. Nye and Robert O Keohane. “Transnational Relations and World Politics: An Introduction”, International
Organization. Vol.XXV, No.3, Summer 1971, p. 330.	

         4 Pierre Gerbet. op.cit. p. 27.	
         5 Bowyer Ball. “Contemporary Revolution Organization”, International Organization. Vol.XXV, No.1, Summer 1971,
pp. 503-518.
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19