Page 17 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 17
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-7
ความข ัดแ ย้งท ี่ถ ือก ำ�เนิดข ึ้น ดังเช่น การป ฏิบัติหน้าที่ของค ณะก รรมธิก ารอนุญาโตตุลาการก ารค้าระหว่างร ัฐอ เมริกัน
(The Inter-American Commercial Arbitration Commission)11
ความส มั พนั ธข์ า้ มช าตทิ ถี่ อื ก �ำ เนดิ ข ึน้ ก อ่ ใหเ้ กดิ ค วามพ ยายามจ ดั ต ัง้ อ งคก์ ารร ะหวา่ งป ระเทศน บั ต ัง้ แตภ่ ายห ลงั
สงครามโลกค รั้งท ีส่ องท ีท่ ำ�ใหเ้พิ่มจ ำ�นวนอ ย่างม าก12 ทำ�ใหม้ อี งค์การร ะหว่างป ระเทศท ีไ่มแ่ สวงหาก ำ�ไรจ ำ�นวนม ากกว่า
3,000 แห่งในปัจจุบัน และหากน ับรวมองค์การร ะหว่างป ระเทศที่แสวงหากำ�ไรจะเพิ่มจ ำ�นวนมากขึ้น ตัวอย่างท ี่สำ�คัญ
คือ กาชาดสากล (International Red Cross) ที่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง สมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่าง
ประเทศ (International Transport Association: IATA) คณะกรรมการโอลิมปิกระหว่างป ระเทศ (International
Olympic Committee: IOC) สภาคร ิสตจ ักรโลก (World Council of Churchs: WCC) สหพันธ์แ ห่งส หภาพการ
ค้าโลก (World Federation of Trade Union: WFTU)13 ความแ ตกต่างระหว่างอ งค์การร ะหว่างประเทศข องรัฐบาล
กับองค์การระหว่างประเทศอื่นค ือ องค์การระหว่างป ระเทศข องร ัฐบาลจ ัดต ั้งจากสนธิส ัญญาและเกือบทั้งหมดม าจาก
สมาชิกท ีเ่ป็นต ัวแทนข องร ัฐบาล ขณะท ีอ่ งค์การร ะหว่างป ระเทศท ีไ่ม่ใชร่ ัฐบาลไมไ่ดจ้ ัดต ั้งจ ากส นธสิ ัญญาแ ละป ระกอบ
ด้วยต ัวแทนข องร ัฐบาลแ ละท ี่ไม่ใชต่ ัวแทนข องร ัฐบาล ทำ�ใหเ้ป็นค วามส ัมพันธร์ ะหว่างก ันน อกเหนือก ารค วบคุมต ิดต่อ
จากร ัฐบาล ทำ�ให้องค์การระหว่างป ระเทศที่มิใช่ร ัฐบาล เช่น องค์การเอกชน (non-state entities) และบริษัทน ํ้ามัน
อ าระเบยี น-อเมรกิ นั (Arabian-American Oil Company) นบั เปน็ ต วั อยา่ งส �ำ คญั ข องต วั แ สดงร ะหวา่ งป ระเทศท กี่ อ่ ให้
เกดิ ค วามเปลีย่ นแปลงเวทกี ารเมอื งร ะหวา่ งป ระเทศ สะทอ้ นก ารเปน็ ค แู่ ขง่ ก บั ร ฐั ช าตแิ ละค วามผ กู พนั ร ะหวา่ งม นษุ ยชาติ
ด้านผ ลป ระโยชนก์ ับอ งค์การร ะหว่างป ระเทศท ีไ่ม่ใชร่ ัฐก ับร ัฐช าติ14 ปฏิสัมพันธข์ ้ามช าตแิ บ่งอ อกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ การ
คมนาคม การขนส่ง การเงิน และก ารเดินท าง กิจกรรมบางอ ย่างครอบคลุมทั้ง 4 แบบ ทำ�ให้ต้องป ระสานงานระหว่าง
บุคคล ข้อมูลข ่าวสาร ทรัพย์สิน และท รัพยากร15 ความส ัมพันธร์ ะหว่างต ัวแ สดงแ บบเก่าเน้นท ีร่ ัฐในฐ านะท ีเ่ป็นต ัวแทน
ผ่านหรือสู่ตัวแสดงอื่นในสังคม ละเลยความสัมพันธ์ข้ามชาติจากตัวแสดงอื่นที่ไม่ใช่รัฐ ขณะที่ความสัมพันธ์ข้าม-
ช าติร ่วมส มัยเป็นค วามส ัมพันธ์ท ี่ซ ับซ ้อน เป็นการพ ึ่งพาอ าศัยซ ึ่งก ันแ ละก ันท ี่ซ ับซ ้อน (Complex Interdependence)
ก่อให้เกิดก ารติดต่อระหว่างตัวแ สดงท ี่เป็นร ัฐบาล องค์การเอกชน องค์การร ะหว่างรัฐบาล
แนวคิดท ฤษฎีท ี่เกี่ยวข้องท ี่ส ำ�คัญม าจ ากแ นวคิดท ฤษฎีค วามส ัมพันธ์ร ะหว่างป ระเทศ ที่ส ำ�คัญป ระกอบด ้วย
แนวคิดอุดมคตินิยม สัจนิยม ระบบ และเศรษฐศาสตร์การเมือง
อดุ มคตนิ ยิ ม (Idealism) มที ี่มาจ ากแ นวคิดเสรีนิยม (Liberalism) ที่ม องโลกในแ งด่ ี เชื่อในเหตุผลข องม นุษย์
ที่มุ่งเน้นสันติภาพและค วามร ่วมม ือ เน้นคุณธรรม ศีลธ รรม และจ ริยธรรม ให้ค วามสำ�คัญก ับผ ลประโยชน์สาธารณะ
(Public Interest) การเน้นแนวคิดเสรีนิยมทางเศรษฐกิจและรัฐสวัสดิการ การให้ความสำ�คัญกับกฎหมายระหว่าง
ประเทศ องค์การร ะหว่างประเทศ และร ะบอบระหว่างป ระเทศ แนวคิดอุดมคตินิยมเป็นที่มาของแ นวคิดเสรีนิยมใหม่
(Neo-Liberalism) หรือแนวคิดสถาบันนิยม-เสรีนิยมใหม่ (Neo-liberal institutionalism) มีที่มาจากพัฒนาการ
ของแนวคิดพหุนิยม (Pluralism) ที่เน้นบทบาทของรัฐที่มองผลตอบแทนจากความร่วมมือที่เป็นประโยชน์ร่วมกัน
(absolute gain) และแนวคิดพ หุนิยมที่มีความหมายสองนัย นัยแรก คือการต่อต้านแนวความค ิดในการรวมศูนย์
11 Skjelsbaek. loc.cit.
12 Ibid., p. 421.
13 Grigorti Morozov. “The Socialist conception of international organization”, The Concept of International
Organization. Georges Abi-Saab (ed.). Paris: UNESCO, 1981, p. 189.
14 Arnold Wolfers. “The Actors in World Politics”, in Discord and Collaboration: Essay on International Politics.
Arnold Wolfars (ed.). Baltimore: John Hopkins Press, 1962, p. 23.
15 Joseph S. Nye and Robert O. Keshane. op.cit. p. 332.