Page 21 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 21

องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-11

ข้ามช​ าติจ​ ำ�นวน​มากกว่าร​ ้อยล​ ะ 85 มี​สัญชาติห​ รือม​ า​จากส​ หรัฐอเมริกา19 บรรษัทข​ ้ามช​ าติ​มี​ขนาดใ​หญ่​โต มีก​ ารล​ งทุน​
หลาย​ประเทศ​ทั่ว​โลก จาก​การ​เปรียบ​เทียบ​ระหว่าง​ผลิตภัณฑ์​มวล​รวม​ประชาชาติ​กับ​งบ​ประมาณ​ราย​จ่าย​ของ​บรรษัท​
ข้าม​ชาติ​จาก​สหรัฐอเมริกา​ใน ค.ศ. 1969 พบ​ว่า​บริษัท​เจ​เนรัล​มอเตอร์​มี​งบ​ประมาณ​ราย​จ่าย​ประจำ�​ปี​จำ�นวน 24.3
พันล​ ้านด​ อลลาร์ส​ หรัฐฯ ขณะท​ ี่เ​บลเยียมแ​ ละล​ ักเ​ซมเ​บิร์กม​ ีผ​ ลิตภัณฑม์​ วลร​ วมป​ ระชาชาติร​ วมก​ ันจ​ ำ�นวน 22.9 พันล​ ้าน​
ดอลลาร์ส​ หรัฐฯ บริษัท​ฟอ​ ร์​ดมอ​เตอร์ มี​งบป​ ระมาณ​ประจำ�​ปีจ​ ำ�นวน 14.8 พัน​ล้านด​ อลลาร์​สหรัฐฯ ขณะท​ ี่ป​ ากีสถาน​
มี​ผลิตภัณฑ์​มวลร​ วม​ประชาชาติ​จำ�นวน 14.5 พันล​ ้านด​ อลลาร์​สหรัฐฯ และ​บริษัทโ​มบิล​ออ​ยล์ มีง​ บป​ ระมาณ​ประจำ�​ป​ี
จำ�นวน 6.6 พันล​ ้าน​ดอลลาร์​สหรัฐฯ ขณะท​ ี่ป​ ระเทศไทย​มีผ​ ลิตภัณฑ์​มวลร​ วม​ประชาชาติจ​ ำ�นวน 6.3 พัน​ล้านด​ อลลาร​์
สหรัฐฯ การล​ งทุนข​ องบ​ รรษัท​ข้าม​ชาติใ​น​แต่ละ​ประเทศ​มีแ​ นว​โน้ม​เพิ่ม​มากข​ ึ้น แต่ส​ ัดส่วนก​ าร​ลงทุน​ในแ​ ต่ละป​ ระเทศ​
หรือ​ใน​แต่ละ​ภูมิภาค​แม้​มี​สัดส่วน​เพิ่ม​ขึ้น แต่​มี​เงื่อนไข​ตาม​สภาพ​ความ​เปลี่ยนแปลง​ทางการ​เมือง เศรษฐกิจ และ​
สังคม ดัง​เช่น การ​ลงทุน​ของ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​ใน​ตะวันออกกลาง​ใน​ทศวรรษ 1960 ที่​มี​สัดส่วน​เพิ่ม​ขึ้น​เพียง​เล็ก​น้อย​
เนื่องจากว​ ิกฤตการณ์​ทางการ​เมือง​ที่ม​ ีค​ วามข​ ัด​แย้ง​ตลอดเ​วลา เป็นต้น นอกจาก​บรรษัท​ข้ามช​ าติ​สัญชาติ​อเมริกันแ​ ล้ว
ยังม​ ีบ​ รรษัทข​ ้าม​ชาติป​ ระเทศ​อื่นล​ งทุน​ทั่ว​โลกด​ ังเ​ช่น​ใน​ทศวรรษ​ที่ 1970 ที่​สำ�คัญ​ได้แก่ อังกฤษ​จำ�นวน 4,110 พัน​ล้าน​
ดอลลาร์ส​ หรัฐฯ แคนาดาจ​ ำ�นวน 3,112 พัน​ล้าน​ดอลลาร์​สหรัฐฯ และ​เนเธอร์แลนด์จ​ ำ�นวน 2,121 ล้าน​ดอลลาร์​สหรัฐฯ
ทำ�ให้จ​ ำ�นวนบ​ รรษัทข​ ้ามช​ าติท​ ี่ล​ งทุนม​ ีจ​ ำ�นวนร​ ะหว่าง 200-300 บรรษัท20 แต่ห​ ากร​ วมบ​ รรษัทร​ ะดับภ​ ูมิภาคท​ ี่ม​ ีจ​ ำ�นวน
1,400 กว่าบ​ รรษัท ร้อยล​ ะ 85 ของ​บรรษัทข​ ้าม​ชาติท​ ั้งหมดเ​ป็นส​ ัญชาติอ​ เมริกัน21

       วิวัฒนาการด​ ้านจ​ ำ�นวนข​ องจ​ ำ�นวนเ​อกชนท​ ี่เ​ป็นส​ มาชิกจ​ ากป​ ระเทศท​ ั้งห​ ลายใ​นอ​ งค์การท​ ี่ไ​ม่ใช่ข​ องร​ ัฐ จำ�นวน​
ของ​สมาชิก​องค์การ​ที่​ไม่ใช่​ของ​รัฐ​เพิ่ม​จำ�นวน​ตลอด​เวลา มี​ประเทศ​ที่​เกี่ยวข้อง​เพิ่ม​จำ�นวน​ตลอด​เวลา ส่วน​หนึ่ง​มา​
จาก​จำ�นวน​ประเทศท​ ี่​ถือ​กำ�เนิดใ​หม่เ​พิ่ม​จำ�นวน กับ​องค์การท​ ี่ไ​ม่ใช่ข​ องร​ ัฐเ​พิ่ม​ขึ้น​ตลอด​เวลา นับ​ตั้งแต่ ค.ศ. 1951 ถึง
ค.ศ. 1966 แม้บ​ าง​ช่วงเ​วลาจ​ ะ​มี​สัดส่วน​ลด​ลง แต่​โดย​เฉลี่ยย​ ัง​คง​เพิ่ม​ตลอด​เวลา

       การ​เพิ่ม​จำ�นวน​ของ​องค์การ​ที่​ไม่ใช่​ของ​รัฐ​ทำ�ให้​กิจกรรม​ของ​องค์การ​ไม่ใช่​รัฐ​เพิ่ม​ขึ้น​และ​ครอบคลุม​ทุก​ด้าน
การ​เพิ่ม​จำ�นวน​ของอ​ งค์การ​ที่ไ​ม่ใช่ข​ อง​รัฐ​ในก​ ิจกรรม​สาขาท​ ั้ง​หลายน​ ำ�​ไป​สู่ก​ าร​ประสาน​งาน​ที่น​ ำ�​ไป​สู่ก​ าร​ถือก​ ำ�เนิด​ของ​
องค์การท​ ี่ไ​ม่ใช่ข​ องร​ ัฐเ​หนือช​ าติ (Supra-NGO) ในฐ​ านะท​ ี่เ​ป็นร​ ะบบก​ ลไกก​ ารป​ ระสานง​ านท​ ี่ม​ ีจ​ ำ�นวนม​ ากกว่าห​ นึ่งร​ ้อย​
แห่งใ​น ค.ศ. 1969 ประกอบด​ ้วยอ​ งค์การท​ ี่ไ​ม่ใชข่​ องร​ ัฐส​ ่วนห​ นึ่งห​ รือท​ ั้งหมด22 ที่ม​ ีจ​ ำ�นวนเ​พียงร​ ้อยล​ ะ 10 ของอ​ งค์การ​
ทั้งหมด​ระหว่าง ค.ศ. 1963 ถึง ค.ศ. 1914 ระหว่าง ค.ศ. 1915 ถึง ค.ศ. 1944 และ​ระหว่าง ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1954
แม้ว่า​องค์การ​ที่​ไม่ใช่​ของ​รัฐ​จำ�นวน​หนึ่ง​ยุติ​บทบาท​แล้ว แสดง​ถึง​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​องค์การ​ที่​ไม่ใช่​ของ​รัฐ​เพิ่ม​
จำ�นวน​ขึ้น

       เป็น​ที่​น่า​สังเกต​ว่า​องค์การ​ที่​ไม่ใช่​ของ​รัฐ​มี​กิจกรรม​เกี่ยว​กับ​การเมือง​ที่​มี​รัฐบาล​มี​ส่วน​ร่วม​มี​แนว​โน้ม​เพิ่ม​
จำ�นวนเ​สมอ ขณะ​ที่อ​ งค์การท​ ี่ไ​ม่ใช่ข​ องร​ ัฐ​มี​กิจกรรมด​ ้านเ​ศรษฐกิจ​จำ�นวน​ร้อยล​ ะ 12.5 ของ​ทั้งหมดท​ ี่​ก่อต​ ั้ง​ภายห​ ลัง​
สงครามโลก​ครั้งท​ ี่​สอง เปรียบ​เทียบ​กับ​ร้อยล​ ะ 3.3 ช่วงก​ ่อน ค.ศ. 1914 ขณะท​ ี่อ​ งค์การ​ด้าน​บรรเทาท​ ุกข์ การศ​ ึกษา
เยาวชน หนุ่ม​สาว และ​สตรี มี​จำ�นวน​ร้อย​ละ 12.1 องค์การ​ที่​เกี่ยว​กับ​แพทย์​และ​สาธารณสุข มี​จำ�นวน​ร้อย​ละ 9.6
องค์การด​ ้าน​การ​ค้าแ​ ละอ​ ุตสาหกรรม มี​จำ�นวนร​ ้อยล​ ะ 9.2 องค์การท​ ี่เ​กี่ยว​กับ​วิทยาศาสตร์บ​ ริสุทธิ์ (pure science)
ปรัชญา ภาษา และ​กีฬา มี​แนว​โน้ม​ลด​ลง​ตลอด​เวลา ขณะ​ที่​องค์การ​ที่เ​กี่ยว​กับ​ศาสตร์​ประยุกต์ (applied science)

         19 Pascal Ordonneau, Les Multinationales contre les Ètats, Paris: Les Èditions Ouvrières, 1975, p. 13.
         20 Ordonneau. op.cit. p. 13.	
         21 Well Jr. op.cit. p. 449.	
         22 J.J. Lador-Lederer. International Non-Governmental Organizations and Economic Entities: A Study in​
Autonomous Organization and Ius Gentium. Leiden: A.W. Sijthoff, 1962, p. 66 and A.J. N. Judge. “International NGO
Groupings”, International Associations. February 1969, 21st Year, No.2, pp. 89-92.
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26