Page 16 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 16
15-6 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
เรื่องท่ี 15.1.1
ความหมาย ความส �ำ คัญ ประเภท และแนวคิดทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้อง
ของอ งค์การท ไ่ี ม่ใชข่ องร ฐั
องค์การท ี่ไม่ใช่ของรัฐ6 คือ อ งค์การท ี่อ ยู่นอกการจ ัดตั้งหรือความต กลงข องรัฐหรือรัฐบาล มีความเป็นอ ิสระ
ไม่อยู่ภายใต้โครงสร้างที่ใหญ่กว่าจนเป็นส่วนย่อยหรือองค์กรขององค์การใดองค์การหนึ่ง การศึกษาองค์การที่ไม่ใช่
ของร ัฐร วมถ ึงอ งค์การข ้ามช าติ (Transnational Organization) ทีม่ คี วามห มายกว ้างข วางค รอบคลุมท ุกภ าคส ่วนท ีอ่ ยู่
นอกเหนือแ ละป ราศจากก ารค วบคุมข องร ัฐบาล7 การเปลี่ยนแปลงจ ากก ระแ สโลกาภ วิ ัตน ท์ ำ�ใหอ้ งค์การท ีไ่ม่ใชข่ องร ัฐม ี
บทบาทเพิ่มม าก จากค วามสัมพันธ์ข้ามช าติหรือป ฏิสัมพันธ์ข้ามช าติ (Transnational interactions) และม ีกิจกรรม
ครอบคลุมท ุกด ้าน ทำ�ให้การจ ำ�แนกประเภทจ ัดแบ่งเป็นอ งค์การท ี่ไม่ใช่ข องร ัฐด ้านก ารเมือง เศรษฐกิจ และส ังคม
1. องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐด้านการเมืองประกอบด้วยกลุ่มการเมืองข้ามชาติ แบ่งออกเป็น กลุ่มการเมืองใน
ระบบก ารเมือง ที่สำ�คัญคือ พรรคการเมืองและข บวนการการเมือง และกลุ่มการเมืองนอกระบบการเมือง ที่ส ำ�คัญค ือ
ขบวนการป ลดป ล่อยแ ห่งชาติ และขบวนการก ่อการร้าย
2. องค์การท ี่ไม่ใช่ข องรัฐด ้านเศรษฐกิจ ที่ส ำ�คัญคือ บรรษัทข้ามช าติ
3. องค์การท ีไ่ม่ใชข่ องร ัฐด ้านส ังคม ประกอบด ้วย องค์การพ ัฒนาเอกชนแ ละข บวนการเคลื่อนไหวท างส ังคม
ความส �ำ คญั ข องอ งคก์ ารท ไี่ มใ่ ชข่ องร ฐั ท �ำ ใหเ้ กดิ ก ารเปลีย่ นแปลงในร ะดบั ร ะหวา่ งป ระเทศแ ละก ารเมอื งภ ายใน
ของป ระเทศ ที่เป็นผ ลม าจ ากก ิจกรรม การด ำ�เนินง าน ความส ัมพันธ์ การป ะทะส ังสรรค์ และป ฏิสัมพันธท์ ี่ต ่อเนื่อง ส่วน
หนึ่งเป็นปรากฏการณ์ท ี่ต่อเนื่องจากอ ดีต แต่อีกส ่วนหนึ่งม าจ ากความเปลี่ยนแปลงต ามกระแ สโลกาภิวัตน ์ในปัจจุบัน
ปฏิสัมพันธข์ ้ามช าติ (International Interaction) เป็นการเคลื่อนย ้ายท ั้งท ีส่ ัมผัสไดแ้ ละน อกเหนือก ารส ัมผัส
ข้ามพรมแดนของรัฐ ที่ตัวแสดงอย่างน้อยหนึ่งตัวแสดงไม่เป็นตัวแทนของรัฐหรือองค์การระหว่างประเทศระหว่าง
รัฐบาล8 ส่วนหนึ่งนำ�ไปสู่การจัดตั้งเป็นองค์การข้ามชาติ (Transnational organizations) ที่เป็นปฏิสัมพันธ์ข้าม-
ชาติ จัดเป็นส ถาบันป ฏิสัมพันธ์ข้ามประเทศ (Transnational interactions institution)9 อีกนัยห นึ่ง เป็นองค์การ
ข้ามช าติท ี่เป็นอ งค์การท ี่ไม่ใช้ร ัฐบาลท ี่ม ีค วามส ัมพันธ์แ ละป ฏิสัมพันธ์ข ้ามช าติ10 เหตุผลส ำ�คัญท ี่ท ำ�ให้ม ีก ารจ ัดต ั้งเป็น
องค์การหรือสถาบันระหว่างประเทศข้ามชาติคือ ประการแรก การติดต่อระหว่างกันที่เพิ่มขึ้นทำ�ให้ต้องเพิ่มบุคลากร
และทรัพยากรเพิ่มขึ้นท ำ�ให้ต ้องก ำ�หนดกฎเกณฑ์ความสัมพันธ์ การอำ�นวยค วามสะดวก ด้วยวิธีการป ระหยัดคือก าร
จัดต ั้งส ำ�นักงานเลขาธิการ ประการท ี่ส อง การเพิ่มจ ำ�นวนส มาชิกท ำ�ให้เกิดป ัญหาด ้านก ารป ระสานง านร ะหว่างป ระเทศ
ประการที่สาม เงื่อนไขจากสถานการณ์บางประการก่อให้เกิดการจัดต ั้งอ งค์การระหว่างประเทศเพื่อปฏิบัติการร่วมกัน
ประการที่สี่ เจ้าหน้าที่องค์การระหว่างประเทศทำ�หน้าที่ไกล่เกลี่ยหรือการกำ�หนดอนุญาโตตุลาการจากสถานการณ์
6 เนื้อหาช ่วงแ รกข องเรื่องท ี่ 15.1.1 ความห มาย ความส ำ�คัญ ประเภท และแ นวคิดท ฤษฎที ี่เกี่ยวข้องข องอ งค์การท ี่ไม่ใชข่ องร ัฐ ทีว่ ่าด ้วย
ความห มาย ความส ำ�คัญ ประเภท ปรับปรุงเนื้อหาส่วนใหญ่จ าก สมพ งษ์ ชูมาก อ้างแ ล้ว หน้า 880-885 6
7 Nye and Keohane. op.cit., p. 330.
8 Ibid., p. 332
9 Kjell Skjelsbaek. “The Growth of International Nongovernmental Organization in the Twentieth Century”,
International Organization. Vol.XXV, No.3, Summer 1971, p. 420.
10 Johan Galtung. “Non-territorial actors: the invisible continent”, in The Concept of International Organization.
Georges Abi-Saab (ed.). Paris: UNESCO, 1981, pp. 67-75.