Page 18 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 18
15-8 กฎหมายระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
อำ�นาจรัฐ (State-Centrism) เป็นแนวคิดที่สนับสนุนตัวแสดงที่ม ีการผสมผสาน (Mixed Actor Model) เป็นการ
มองท ี่โครงสร้างข องร ะบบท ี่ป ระกอบด ้วยต ัวแ สดงท ี่เป็นร ัฐแ ละต ัวแ สดงท ี่ไม่ใช่ร ัฐ นัยท ี่ส อง คือก ารแ บ่งป ันท างอ ำ�นาจ
ของอ งค์ป ระกอบในร ะบบก ารเมืองส ะท้อนจ ากความส ำ�คัญท ั้งก ารเมืองภายในประเทศ (Intra-State Politics) และ
ระหว่างประเทศ (Inter-State Politics) แนวคิดอุดมคตินิยมเป็นรากฐานสำ�คัญของแนวคิดการพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน
และกัน การพ ึ่งพาอ าศัยซึ่งก ันและก ันอ ย่างสลับซ ับซ้อน และค วามส ัมพันธ์ข ้ามช าติ แนวคิดอ ุดมคตินิยมจึงสนับสนุน
ตัวแ สดงท ี่ไม่ใช่รัฐ
สจั นิยม (Realism) มีท ี่มาจ ากแนวคิดอนุรักษนิยม (Conservatism) ที่ม องม นุษย์แ ละโลกในแง่ร้าย สังคม
มนุษย์จึงมีความขัดแย้งและสงคราม รัฐนับเป็นตัวแสดงที่สำ�คัญที่สุดที่มุ่งเน้นผลประโยชน์แห่งชาติ 4 ประการคือ
ความอ ยู่ร อดป ลอดภัย ความม ั่นคงแ ห่งช าติ ความม ั่งคั่งท างเศรษฐกิจ และเกียรติภูมิแ ห่งช าติ การให้ค ุณค่าก ับอำ�นาจ
ดุลแห่งอำ�นาจ การครองความเป็นเจ้า และภูมิรัฐศาสตร์ เพราะเป็นที่มาของความอยู่รอดของรัฐ การยึดถือลัทธิ
พาณิชย น ิยม (mercantilism) ที่ม ุ่งเน้นต ามท ฤษฎีเกม พัฒนาการข องส ัจนิยมก ่อให้เกิดแ นวคิดน ำ�มาส ู่การถ ือก ำ�เนิด
ของแ นวคิดท ฤษฎสี ัจนิยมใหม่ (Neo-realism) หรือส ัจนิยมท างโครงสร้าง (Structural Realism) ทีอ่ ธิบายพ ฤติกรรม
ของร ัฐแ ละผ ลข องพ ฤติกรรมด ้วยก ารใหค้ วามส ำ�คัญก ับก ารจ ัดสรรอ ำ�นาจ (Distribution of Power) ทีม่ คี วามส ัมพันธ์
กับความสัมพันธ์ข้ามชาติและการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันอย่างสลับซับซ้อน แนวคิดสัจนิยมใหม่จึงให้ความสำ�คัญ
กับบทบาทและพฤติกรรมของรัฐที่มีอิทธิพลในระบบระหว่างประเทศ ขณะที่ตัวแสดงอื่นโดยเฉพาะบรรษัทข้ามชาติ
มีค วามสำ�คัญเพิ่มขึ้น แตกต ่างจ ากสัจนิยมที่ไม่ให้ความสำ�คัญกับตัวแสดงอื่น
แนวคดิ ท ฤษฎรี ะบบ (Systems Theory) เป็นแ นวคิดท ฤษฎที ีม่ องก ารเมืองร ะดับม หภาค มุ่งเน้นอ งคป์ ระกอบ
หรือส ่วนป ระกอบย ่อยท ี่ม ีหน้าท ี่ท ี่ม ีป ฏิสัมพันธ์ร ะหว่างก ันเพื่อค วามอ ยู่ร อดท ี่ป ระกอบด ้วย ปัจจัยน ำ�เข้า กระบวนการ
แปรรูป ปัจจัยน ำ�ออก ปัจจัยป ้อนก ลับท ี่ม ีป ฏิสัมพันธก์ ับส ภาพแ วดล้อมเป็นการอ ธิบายแ ละว ิเคราะห์จ ากโครงสร้างท ี่ม ี
ความห มายถ งึ ต วั แ สดงท เี่ ปน็ กล ุ่ม องคก์ าร หนว่ ยง าน สถาบัน หรืออ ืน่ ใด และก ระบวนการท ีม่ คี วามห มายถ ึงก ารกร ะท ำ�
การดำ�เนินก าร ความส ัมพันธ์ และปฏิสัมพันธ์ ระหว่างตัวแสดงท ั้งห ลาย แนวคิดท ฤษฎีระบบเป็นที่มาของก ารอธิบาย
ระดับร ัฐ ที่ส ำ�คัญค ือ แนวคิดท ฤษฎีก ารต ัดสินใจน โยบายต ่างป ระเทศ กลุ่มแ นวคิดท ฤษฎีร ะบบท ี่อธิบายพ ฤติกรรม
ของรัฐกับตัวแปรอ ื่น ได้แก่ ทฤษฎีค วามเกี่ยวพัน (Linkage Politics) ทฤษฎีส นามสังคม (Social Field Theory)
กลุ่มแ นวคิดทฤษฎีระบบในระดับภูมิภาคค ือ ทฤษฎีก ารร วมกลุ่มห รือการบ ูรณาการ (Integration Theory) ที่แบ่ง
ออกเป็นระดับค วามร ่วมมือหรือร ะดับบูรณาการ มี 2 มิติ ด้านก ารเมืองแ บ่งออกเป็น สหพันธรัฐแ ละสมาพันธรัฐ และ
ด้านเศรษฐกิจแ บ่งออกเป็น เขตก ารค้าเสรี สหภาพศุลกากร ตลาดร ่วม สหภาพเศรษฐกิจ และสหภาพเศรษฐกิจโดย
สมบูรณ์ การแบ่งการรวมกลุ่มจากหน้าที่หรือภารกิจ แบ่งจากหน้าที่หรือภารกิจเฉพาะด้านสู่ค วามร่วมมือด ้านอื่น แบ่ง
ออกเป็น แนวคิดภารกิจนิยม (Functionalism) และภารกิจนิยมใหม่ (Neo-functionalism) และแ นวคิดปฏิสัมพันธ์
นิยม (Transactionalism) และก ลุ่มแ นวคิดท ฤษฎีร ะบบในร ะดับโลกค ือ แนวคิดโลกน โยบายศ าสตร์ (Global Policy
Science) แนวคิดทฤษฎีระบบแฝงไว้ซ ึ่งต ัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐนอกเหนือจ ากรัฐท ี่เป็นต ัวแ สดงท ี่สำ�คัญ
เศรษฐศาสตรก์ ารเมอื ง (Political Economy) เปน็ การว เิ คราะหแ์ ละอ ธบิ ายป จั จยั ท างเศรษฐกจิ ท มี่ ตี อ่ ก ารเมอื ง
หรือป ัจจัยท างการเมอื งท ีม่ ตี ่อเศรษฐกจิ มที ี่มาจ ากแ นวคิดล ัทธมิ ารก์ ซ์ (Marxism) เปน็ ท ีม่ าข องแ นวคดิ ท ฤษฎที ีส่ �ำ คัญ
ไดแ้ ก่ ภาวะท นั ส มยั (Modernization) จกั รวรรดนิ ยิ ม (imperialism) ทมี่ ุง่ เนน้ ก ารย ดึ ค รองด นิ แ ดน และจ กั รวรรดนิ ยิ ม
ใหม่ (neo-imperialism) ทีม่ ุ่งเน้นก ารค รอบค รองแ ละค รอบงำ�ทุกม ิติ บรรษัทข ้ามช าตนิ ับเป็นเครื่องม ือท ีส่ ำ�คัญข องว ิธี
การค รอบค รองแ ละค รอบงำ�ของร ัฐช าตทิ ี่เป็นเจ้าของ เช่นเดียวกันแ นวคิดท ฤษฎีก ารพ ึ่งพ ิง (Dependency Theory) ที่
มงุ่ เนน้ บทบาทของรฐั ผ า่ นโครงสรา้ งภายในรฐั องคก์ ารระหวา่ งประเทศ และตวั แสดงทไ่ี มใ่ ช่รฐั ทส่ี �ำ คญั คอื บรรษทั ขา้ ม-
ชาติ และอ งค์การพ ัฒนาเอกชน จากป ระเทศท ีพ่ ัฒนาแ ล้วห รือป ระเทศท ีก่ ้าวหน้าก ับป ระเทศก ำ�ลังพ ัฒนาห รือป ระเทศท ี่