Page 25 - กฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
P. 25
องค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ 15-15
การเกดิ ข ึ้นข องส หภาพย โุ รปภ ายห ลังก ารล งน ามในส นธสิ ัญญาม าสท รชิ ตใ์ นว นั ท ี่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ. 1992 และ
มีผลบังคับใชัในวันท ี่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 ภายห ลังการให้สัตยาบันข องป ระเทศสมาชิกบ ่งบอกถ ึงความร่วมมือ
ทางการเมืองของประเทศในสหภาพยุโรป เพราะโครงสร้างของสถาบันที่สำ�คัญประการหนึ่งคือ รัฐสภาแห่งยุโรป
(European Parliament) แม้ม ีการก่อต ั้งตามส นธิสัญญาแห่งโรม (Treaty of Rome) ใน ค.ศ. 1952 ที่ก ำ�หนดให้มี
การก่อต ั้งสภาแห่งส หภาพย ุโรป (European Parliament Assembly) จนนำ�มาสู่การก ำ�หนดให้การเลือกตั้งค รั้งแ รก
ใน ค.ศ. 1979 ที่ท ำ�ให้มีการเลือกตั้งต ่อเนื่องมา แต่ความเปลี่ยนแปลงใน ค.ศ. 1994 ที่กำ�หนดให้สมาชิกร ัฐสภามาจ าก
การเลือกต ั้งโดยตรงจ ากป ระเทศท ุกป ระเทศต ามส ัดส่วนท ีก่ ำ�หนด และม สี มาชิกจ ำ�นวน 626 ทีน่ ั่ง ในก ารเลือกต ั้งท ั่วไป
ค.ศ.1994 ทำ�ให้ส มาชิกร ัฐสภาย ุโรปท ี่มาจ ากป ระเทศส มาชิกท ี่ม ีอ ุดมการณ์ท างการเมืองแ ละแ นวน โยบายเดียวกันต ่าง
รวมก ลุม่ ก นั เปน็ พ รรคการเมอื งห รอื แ นวร ว่ มท างการเมอื ง เชน่ พรรคส งั คมนยิ มแ หง่ ย โุ รป (Party of European Social-
ists) พรรคค ริสเตียนเดโมแ ครต พรรคป ระชาชนแ ห่งย โุ รป (European People’s Party) พรรคเสรนี ยิ ม ประชาธิปไตย
และการปฏิรูป (European Liberal, Democratic and Reform Party: ELDR) กลุ่มก รีน (Green Group)24 การ
ถือกำ�เนิดข องรัฐสภาแห่งยุโรปทำ�ให้พ รรคการเมืองในป ระเทศเหล่านี้ต่างต ้องร่วมม ือกันเพื่อให้ได้รับก ารเลือกต ั้ง อัน
นำ�มาส ู่การก ำ�หนดน โยบายหรือการออกกฎหมายที่เป็นป ระโยชน์ตามแ นวทางอุดมการณ์ท ี่กำ�หนด
2. ขบวนการท างการเมอื ง25
ขบวนการท างการเมอื ง (Political Movement) คอื การร วมก นั ข องบ คุ คลเปน็ กล ุม่ ก ารเมอื งท มี่ กี ารเคลือ่ นไหว
ทางการเมืองในระบบการเมือง โดยมีวัตถุประสงค์ทางการเมืองเพื่ออุดมการณ์ทางการเมืองเป็นสำ�คัญ ขบวนการ
ทางการเมืองข ้ามช าติจ ึงเป็นขบวนการทางการเมืองที่ข ้ามพ รมแดนข องรัฐ
ตัวอย่างของขบวนการทางการเมืองข้ามชาติที่สำ�คัญคือ ขบวนการคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ (Interna-
tional Communist Movement) ทีเ่ ปน็ ข บวนการท างการเมอื งท ีส่ ำ�คญั มกี ารส นบั สนุนจ ากร ัฐบาลข องส หภาพโซเวยี ต
ภายห ลงั ก ารเปลย่ี นแปลงการป กครองจ ากร ะบอบส มบรู ณาญาสทิ ธริ าชยเ์ ปน็ ระบอบสงั คมนยิ มคอมมวิ นสิ ต์ ใน ค.ศ. 1917
มีการจัดประชุมสมาชิกคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศหรือสมาชิกคอมมิวนิสต์สากล (Communist International:
COMINTERN) 3 ครั้ง วัตถุประสงคเ์พื่อช ่วยเหลือพ รรคค อมมิวนิสตท์ ั้งห ลายใหบ้ รรลเุป้าห มายในก ารส ร้างค วามเป็น
เอกภาพใหก้ บั ผ ใู้ ชแ้ รงงานท ัว่ โลก เพือ่ น �ำ มาส กู่ ารย ดึ อ �ำ นาจท างการเมอื งข องช นชัน้ น ายทนุ จ ากช นชัน้ ก รรมาชพี ด ว้ ยก าร
ปฏิวัติ ลักษณะส ำ�คัญข องข บวนการค อมมิวนิสตร์ ะหว่างป ระเทศค ือก ารเชื่อมโยงก ับพ รรคการเมืองท ี่เป็นค อมมิวนิสต์
และร ฐั บาลข องป ระเทศท ปี่ กครองด ว้ ยร ะบอบส งั คมนยิ มค อมมวิ นสิ ต์ โดยม สี หภาพโซเวยี ตแ ละสาธารณรฐั ประชาชนจนี
เปน็ ป ระเทศผ ูน้ �ำ ทใี่ หก้ ารส นบั สนนุ ดงั น ัน้ ภ ายห ลงั ก ารล ม่ ส ลายข องส หภาพโซเวยี ตแ ละก ารเปลีย่ นแปลงร ะบบเศรษฐกจิ
ของสาธารณรัฐประชาชนจีนให้เป็นทุนนิยมมากขึ้น ทำ�ให้ข บวนการลดความสำ�คัญลงในเวลาต่อม า
ส่วนข บวนการท างการเมืองอ ื่นท ี่ส ำ�คัญ เช่น ขบวนการไซอ อนน ิสต์ (Zionist) เป็นข บวนการท างการเมืองข อง
ชาวยิวที่สืบเนื่องมาจากความเชื่อจากขบวนการฮาสคารา (Haskalah) ที่ถือกำ�เนิดในทศวรรษ 1700 และกลายเป็น
ขบวนการไซอ อนนิสต์ใน ค.ศ. 1942 มีวัตถุประสงค์สำ�คัญเพื่อการจัดตั้งรัฐข องชาวย ิวในฝั่งต ะวันตกของปาเลสไตน์
ซึ่งในขณะนั้นเป็นอาณานิคมของอังกฤษ และการสังหารโหดชาวยิวโดยนาซีเยอรมันกลายเป็นสาเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้
ขบวนการมีความเคลื่อนไหวที่นำ�มาสู่การจัดตั้งรัฐของชาวยิวอันเป็นที่มาของประเทศอิสราเอล ใน ค.ศ. 1948 ด้วย
การสนับสนุนของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ นำ�มาสู่ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างอิสราเอลกับกลุ่มประเทศ
ตะวันออกกลางต ่อเนื่องมาจ นถึงปัจจุบัน
24 วิมลว รรณ ภัทโรดม สหภาพย ุโรป กรุงเทพมหานคร ศักดิโสภาการพ ิมพ์ 2543 หน้า 129
25 ธโสธร ตู้ท องคำ� อ้างแ ล้ว หน้า 14-6–14-7